วันพุธที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2551

การศึกษาสังเกตพัฒนาการเด็กโรงเรียนอนุบาลปีที่ 1 – 3
ภูมิหลัง
ในการศึกษาสังเกตครั้งนี้ได้ทำการสังเกตเด็ก ดังนี้
1. ชื่อ ชื่อเด็กชายณัฐวุฒิ นามสกุล สลากลาง ชื่อเล่น น้องปลื้ม ชั้น อนุบาล 1/3
เกิดวันที่ 22 กันยายน 2547 อายุ 3 ขวบ 4 เดือน สัญชาติไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
บิดาชื่อ นายประทักษ์ นามสกุล สีลากลาง อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว
มารดาชื่อ น.ส วิไลพร นามสกุล แสงจันโท อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว
ที่อยู่ 9/10 หมู่ 6 ต. คลองหลวง อ.คลองหลวง จ. ปทุมธานี
โทรศัพท์ 081-4236412
2. ชื่อ ชื่อเด็กหญิง ธนัสชนก นามสกุล คำอ่อน ชื่อเล่น น้องคีม ชั้น อนุบาล 1/3
เกิดวันที่ 21มี.ค 2548 อายุ 3 ปี สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
บิดาชื่อ นายทะนงศักดิ์ นามสกุล คำอ่อน อาชีพ ตำแหน่ง ช่างซ้อมบำรุง
มารดาชื่อ น.ส วิไลพร นามสกุล แสงจันโท อาชีพ ลูกจ้างบริษัทเอกชน ตำแหน่งพนักงาน
ที่อยู่ 9/10 หมู่ 6 ต. คลองหลวง อ.คลองหลวง จ. ปทุมธานี
โทรศัพท์ 086-0561900
3. ชื่อเด็กหญิง ดวงพร นามสกุล เพิ่มพล ชื่อเล่น น้องแฟ้ม สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อนุบาล 2/4
เกิดวันที่ 16 ก . ค พ . ศ 2546 อายุ 4 ปี 11 เดือน สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
บิดาชื่อ นาย อิทธิพล นามสกุล เพิ่มพล อาชีพ ค้าขาย
มารดาชื่อ น.ส วิไลพร นามสกุล แสงจันโท อาชีพ ค้าขาย
ที่อยู่ 53/55 ม . 3 ซอย/ตรอก หงสกุล ถ. พหลโยธิน ต. คลองหนึ่ง อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12120 โทรศัพท์ 086-0561900
4. ชื่อเด็กหญิง อภิญญา นามสกุล ชิ้นงูเหลือม ชื่อเล่น น้องอองฟองต์ สัญชาติ ไทย
เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อนุบาล 2/4เกิดวันที่ 29 ธ . ค พ . ศ 2548 อายุ 4 ปี สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
บิดาชื่อ ร. ต . อ มนตรี นามสกุล ชิ้นงูเหลือม อาชีพ รับราชการตำรวจ ตำแหน่ง รอง สวป สภ.คลองหลวง
มารดาชื่อ นาง น้ำเพชร นามสกุล ชิ้นงูเหลือม อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว
ที่อยู่ 9/3 ม. 7 ต . คลองสอง อ . คลองหลวง จ . ปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12120
รหัสไปรษณีย์ 12120 โทรศัพท์ 083-4935255


5. ชื่อเด็กหญิง จตุพร อาจกมล ชื่อเล่น น้องแยม สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อนุบาล 3/1 เกิดวันที่ 29 ธ . ค พ . ศ 2546 อายุ 5 ปี
บิดาชื่อ สต.ท ยงยุทธ อาจจงมล อาชีพ รับราชการ
มารดาชื่อ นางละอองดาว อาจจงมล อาชีพ แม่บ้าน
ที่อยู่ 2/1163 ม.1 อ.คลองหลวง จ. ปทุมธานี เบอร์โทรศัพท์ 085-0054517
6. เด็กชาย เฉลิมเกียรติ จิวสุวรรณ ชื่อเล่น น้องเอิรธ์ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อนุบาล 3/1 เกิดวันที่ 19 ม.ค 2546 อายุ 5 ปี
บิดาชื่อ นายสุพล จิวสุวรรณ อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว
มารดาชื่อ นางผกามาศ จิวสุวรรณ อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว
ที่อยู่ 28/255 อ.คลองสาม จ.ปทุมธานี
เบอร์โทรศัพท์ 085- 2906240


วิธีการศึกษาสังเกตพัฒนาการเด็กในโรงเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 1 – 3
การศึกษาสังเกตพัฒนาการเด็กในโรงเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 1 – 3 ใช้เครื่องมือในการศึกษา
โดยดำเนินการต่อไปนี้
1. เครื่องมือ ในการศึกษาสังเกตพัฒนาการเด็กในโรงเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 1 – 3 ใช้เครื่องมือต่อไปนี้
- แบบบันทึกตรวจสอบรายการ ( Checklist )
2. ผู้ศึกษา พัฒนาการเด็กในโรงเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 1 – 3 จำนวน 1 คน คือ
นางสาวสุพัตรา นามบุตร
ผู้ถูกศึกษา พัฒนาการเด็กในโรงเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 1 – 3 จำนวน 6 คน คือ
1. ชื่อชายณัฐวุฒิ สลากลาง
2. ชื่อเด็กหญิง ธนัสชนก คำอ่อน
3. ชื่อเด็กหญิง ดวงพร เพิ่มพล
4. ชื่อเด็กหญิงอภิญญา ชิ้นงูเหลือมชื่อ
5. ชื่อเด็กหญิง จตุพร อาจกมล
6. ชื่อเด็กชาย เฉลิมเกียรติ จิวสุวรรณ
อัตราผู้ศึกษา 1 : 6 คน


4. เกณฑ์ในการศึกษา การสังเกตพัฒนาการของเด็กปฐมวัย อายุ 3 – 5 ปี ผู้ศึกษาได้ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง คือ
- ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 ในหัวข้อเรื่องคุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3 – 5 ปี หน้า 27 – 30


แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 3 ปี
ชื่อ เด็กชายณัฐวุฒิ นามสกุล สลากลาง ชื่อเล่น น้องปลื้ม ชั้น อนุบาล 1/3
สถานที่ ห้องอนุบาล 1/3 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฯ
วัน / เดือน / ปี 14 พฤศจิกายน 2551 เวลา 08.00 – 15.00 น.
พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านร่างกาย
1. กระโดดขึ้นลงอยู่กับที่ได้
กระโดดด้วยขาทั้งสองอย่างคล่องแคล่ว
2. รับลูกบอลด้วยมือและลำตัว
รับลูกบอลได้แต่ยังมีหลุดมือบ้าง
3. เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
เดินได้อย่างมั่นคงไม่เซหรือล้ม
4. เขียนรูปวงกลมตามแบบได้
จับดินสอเขียนรูปวงกลมได้อย่างถูกต้อง
5. ใช้กรรไกรมือเดียวได้
ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามเส้นตรงได้

พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
1. แสดงอารมณ์ตามความรู้สึก
แสดงอารมณ์ดีใจและชอบ ขณะที่เต้นประกอบเพลง
2. ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้รับคำชม
ยกมืออาสาเช็คพื้นห้องหลังดื่มนมเสร็จ
3. กลัวการพลัดพรากจากผู้ใหญ่น้อยลง
มาโรงเรียนไม่ร้องเมื่อผู้ปกครองกลับบ้าน

พัฒนาการด้านสังคม
1. รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง
รับประทานอาหารได้โดยไม่หก หรือเสียงดัง
2. ชอบเล่นแบบคู่ขนาน
เล่นของเล่นคนเดียวพร้อมกับพูดคุยกับเพื่อน
3. เล่นสมมติได้
เล่นเป็นผู้โดยสารรถไฟ
4. รู้จักการรอคอย
เข้าแถวเพื่อเลือกกิจกรรมศิลปะ
พัฒนาการด้านสติปัญญา
1. สำรวจสิ่งต่าง ๆ ที่เหมือนและต่างกันได้
สำรวจสีที่แตกต่างระหว่างสีที่ผสมและยังไม่ผสมเข้ากันแล้วเป็นสีต่างๆ
2. บอกชื่อของตนเอง
บอกชื่อจริงและชื่อแล่นของตนได้
3. ขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
บอกครูเมื่อต้องการดื่มนมอีกแก้ว
4. สนทนาโต้ตอบหรือเล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆได้
เล่าเกี่ยวกับเรื่องพ่อพาไปเที่ยว



พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1

5. สนใจนิทานและเรื่องราวต่าง ๆ
สนใจฟังนิทานที่ครูเล่าเกี่ยวกับแม่มดอย่างตั้งใจ
6. ร้องเพลง ท่องคำกลอน คำคล้องจองง่าย ๆ และแสดงท่าทางเลียนแบบได้
ร้องเพลงทำนองสั้น ๆ ไปพร้อมกับครูและเพื่อนๆเป็นบางครั้ง
7. รู้จักใช้คำถาม “อะไร”
ถามครู นั่นคืออะไร
8. สร้างผลงานด้วยความคิดของตนเองอย่างง่ายๆ
ทำงานศิลปะโดยปะติดเศษวัสดุเป็นผลงานของตนเอง

9. อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว
ถามครูว่า “ทำไมครูต้องติดตรงนี้ อันคือ อะไร”

ลงชื่อ.........................................ผู้สังเกต
( นางสาวสุพัตรา นามบุตร )

หมายเหตุ
3 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมมากในระดับดี
2 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมบ้างแต่อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง
1 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมน้อยมากหรือแทบจะไม่ปรากฏ


ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ. หน้า 27 –


แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 3 ปี
ชื่อ เด็กหญิง ธนัสชนก นามสกุล คำอ่อน ชื่อเล่น น้องคีม ชั้น อนุบาล 1/3
สถานที่ ห้องอนุบาล 1/3 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฯ
วัน / เดือน / ปี 14 พฤศจิกายน 2551 เวลา 08.00 – 15.00 น.
พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านร่างกาย
1. กระโดดขึ้นลงอยู่กับที่ได้
กระโดดขึ้นลงอยู่กับที่ต่อหน้าเพื่อนๆ
2. รับลูกบอลด้วยมือและลำตัว
รับลูกบอลได้และมีหลุดมือบ้าง
3. เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
เดินได้อย่างมั่นคงไม่เซหรือล้มลง
4. เขียนรูปวงกลมตามแบบได้
จับดินสอเขียนรูปวงกลมบ้างเป็นบางครั้ง
5. ใช้กรรไกรมือเดียวได้
ใช้กรรไกรตัดกระดาษโดยใช้มืออีกข้างประคองบ้าง
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
1. แสดงอารมณ์ตามความรู้สึก
แสดงอารมณ์สนุกสนาน ขณะที่เต้นประกอบเพลง
2. ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้รับคำชม
บอกกับครูว่า หนูดื่มนมหมดแล้ว
3. กลัวการพลัดพรากจากผู้ใหญ่น้อยลง
ไม่ร้องเมื่อมาโรงเรียนหลังจาดที่ผู้ปกครองกลับบ้าน
พัฒนาการด้านสังคม
1. รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง
รับประทานอาหารได้โดยไม่หก หรือเสียงดัง
2. ชอบเล่นแบบคู่ขนาน
เล่นของเล่นเหมือนกันกับเพื่อนแต่เล่นคนเดียว
3. เล่นสมมติได้
เล่นเป็นคนซื้อของ
4. รู้จักการรอคอย
เข้าแถวเพื่อเลือกกิจกรรมศิลปะ

พัฒนาการด้านสติปัญญา
1. สำรวจสิ่งต่าง ๆ ที่เหมือนและต่างกันได้
สำรวจสีที่แตกต่างระหว่างพู่กันกับแปรงที่ทำกิจกรรมศิลปะ
2. บอกชื่อของตนเอง
บอกชื่อจริงและชื่อแล่นของตนได้
3. ขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญา
บอกครูเมื่อต้องการเข้าห้องน้ำ
4. สนทนาโต้ตอบหรือเล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆได้
เล่าเรื่องเกี่ยวกับจระเข้ให้เพื่อนและครูฟัง

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1

5. สนใจนิทานและเรื่องราวต่าง ๆ
สนใจฟังนิทานที่ครูกับแม่มดอย่างตั้งใจ
6. ร้องเพลง ท่องคำกลอน คำคล้องจองง่าย ๆ และแสดงท่าทางเลียนแบบได้
ร้องเพลงทำนองสั้น ๆ ตามครูและเพื่อนๆได้
7. รู้จักใช้คำถาม “อะไร”
ถามครู เป็นบางครั้ง
8. สร้างผลงานด้วยความคิดของตนเองอย่างง่ายๆ
ทำงานศิลปะใช้พู่กันจุ่มสีเป็นจุดๆตาม
จิตนาการ
9. อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว
ถามครูว่า “มันคืออะไร มีไว้ทำไม”

ลงชื่อ.........................................ผู้สังเกต
( นางสาวสุพัตรา นามบุตร )

หมายเหตุ
3 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมมากในระดับดี
2 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมบ้างแต่อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง
1 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมน้อยมากหรือแทบจะไม่ปรากฏ


ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ. หน้า 27 – 28.



แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 4 ปี
ชื่อ เด็กหญิง ดวงพร นามสกุลเพิ่มพล ชื่อเล่น น้องแฟ้ม ชั้น อนุบาล 2/4
สถานที่ ห้องอนุบาล 2/4 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฯ
วัน / เดือน / ปี 21 พฤศจิกายน 2551 เวลา 08.00 – 15.00 น.

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านร่างกาย
1. กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้
กระโดดขาเดียวได้อย่างมั่นคงและไม่ล้ม
2. รับลูกบอลด้วยมือทั้งสอง
รับลูกบอลอย่างมั่นคง ไม่หล่น
3.เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
เดินทรงตัวขึ้นบันไดได้อย่างคล่องแคล่ว
4. เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้
เขียนรูป สี่เหลี่ยม มีมุมชัดเจน
5. ตัดกระดาษเป็นเส้นตรง
ใช้มือจับกรรไกรและตัดกระดาษได้อย่างคล่องแคล่ว
6. กระฉับกระเฉงไม่ชอบอยู่เฉย
วิ่งเล่นกับเพื่อนๆ

พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
1. แสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
แสดงความดีใจและมีความสุขที่ได้ที่ได้ทำกิจกรรมฉีกปะ
2. เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
เมื่อฉีกปะเสร็จเอามาให้ครูดู
3.ชอบท้าทายผู้ใหญ่
ชี้ให้ครูดูเพื่อนที่ทำกิจกรรมร่วมกัน
4. ต้องการให้มีคนฟัง คนสนใจ
ให้ครูฟังขณะที่ตนพูดเกี่ยวกับผลงานศิลปะที่ตนทำ
พัฒนาการด้านสังคม
1. แต่งตัวได้ด้วยตนเอง ไปห้องส้วมได้เอง
แต่งชุดนักเรียนและชุดนอนโดยตนเอง
2. เล่นร่วมกับคนอื่นได้
เล่นกับเพื่อนอย่างมีความสุข
3. รอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
เข้าแถวรอเล่าผลงานให้ครูฟัง โดยไม่แซงเพื่อน
4. แบ่งของให้เพื่อน
แบ่งอุปกรณ์ให้เพื่อนเมื่อเพื่อนขอ
5. เก็บของเข้าที่ได้
เก็บของเข้าที่เมื่อครูบอก

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านสติปัญญา
1. จำแนกสิ่งต่าง ๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้
จำแนกสีและสีเทียนออกจากกัน
2. บอกชื่อและนามสกุลของตนเองได
บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจน
3. พยายามแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หลังจากได้รับคำชี้แนะ
ครูบอกลองใช้สีอื่นนอกเหนือจากสีเหลืองจากนั้นใช้สีฟ้าและสีเขียวผลงานทำศิลปะ
4. สนทนาโต้ตอบ / เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเนื่อง
เล่าเรื่องที่ตนเองสนใจเกี่ยวกับการวาดรูป เช่นวาดรูปคน รถ ก็จะเล่าส่วนประกอบต่าง ๆของรถ
5. สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น

จะชอบวาดรูปเกี่ยวกับคนหรือรถไฟ
6. รู้จักใช้คำถาม “ ทำไม ”
ถามครูว่า “ทำไมจะต้องใช้สีนี้ ”

ลงชื่อ.........................................ผู้สังเกต
( นางสาวสุพัตรา นามบุตร)

หมายเหตุ
3 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมมากในระดับดี
2 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมบ้างแต่อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง
1 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมน้อยมากหรือแทบจะไม่ปรากฏ


ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ. หน้า 27 – 28.










แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 4 ปี
ชื่อ เด็กหญิงอภิญญา นามสกุล ชิ้นงูเหลือมชื่อ ชื่อเล่น น้องอองฟองต์
ชั้น อนุบาล 2/4
สถานที่ ห้องอนุบาล 2/4 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฯ
วัน / เดือน / ปี 21 พฤศจิกายน 2551 เวลา 08.00 – 15.00 น.

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านร่างกาย
1. กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้
กระโดดขาเดียวได้อย่างมั่นคงและไม่ล้ม
2. รับลูกบอลด้วยมือทั้งสอง
รับลูกบอลอย่างมั่นคง ไม่หล่น
3.เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
เดินทรงตัวขึ้นบันไดได้อย่างคล่องแคล่ว
4. เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้
เขียนรูป สี่เหลี่ยม มีมุมชัดเจน
5. ตัดกระดาษเป็นเส้นตรง
ใช้มือจับกรรไกรและตัดกระดาษได้อย่างคล่องแคล่ว
6. กระฉับกระเฉงไม่ชอบอยู่เฉย
วิ่งเล่นกับเพื่อนๆในห้อง

พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
1. แสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
แสดงความดีใจและมีความสุขที่ได้ที่ได้ทำกิจกรรมฉีกปะ
2. เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
เมื่อฉีกปะเสร็จเอามาให้ครูดู
3.ชอบท้าทายผู้ใหญ่
ชี้ให้ครูดูเพื่อนที่ทำกิจกรรมร่วมกัน
4. ต้องการให้มีคนฟัง คนสนใจ
ให้ครูฟังขณะที่ตนพูดเกี่ยวกับผลงานศิลปะ
พัฒนาการด้านสังคม
1. แต่งตัวได้ด้วยตนเอง ไปห้องส้วมได้เอง
แต่งชุดนักเรียนและชุดนอนโดยตนเอง
2. เล่นร่วมกับคนอื่นได้
เล่นกับเพื่อนอย่างมีความสุข
3. รอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
เข้าแถวรอเล่าผลงานให้ครูฟัง โดยไม่แซงเพื่อน
4. แบ่งของให้เพื่อน
แบ่งอุปกรณ์ให้เพื่อนเมื่อเพื่อนขอ
5. เก็บของเข้าที่ได้
เก็บของเข้าที่เมื่อครูบอก


พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านสติปัญญา
1. จำแนกสิ่งต่าง ๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้
จำแนกสีเทียนและสีไม้ไปไว้ในที่เก็บได้
2. บอกชื่อและนามสกุลของตนเองได้
บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจน
3. พยายามแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หลังจากได้รับคำชี้แนะ
ลองใช้สีขูดสีเทียนใช้ผสมกับสีน้ำทำผลงานศิลปะหลังจากที่ครูแนะนำเป็นบ้างครั้ง
4. สนทนาโต้ตอบ / เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเนื่อง
เล่าผลงานของตนเองเป็นประโยคที่ต่อเนื่องได้
5. สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
ü


ทำผลงานศิลปะโดยใช้ทรายหรือใบไม้มาเพิ่มในผลงานของตน
6. รู้จักใช้คำถาม “ ทำไม ”
ถามครูว่า “ทำไมถึงต่างจากอันนี้ ”

ลงชื่อ.........................................ผู้สังเกต
( นางสาวสุพัตรา นามบุตร)

หมายเหตุ
3 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมมากในระดับดี
2 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมบ้างแต่อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง
1 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมน้อยมากหรือแทบจะไม่ปรากฏ


ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ. หน้า 27 – 28.


แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 5 ปี
ชื่อ เด็กหญิง จตุพร นามสกุล อาจกมล ชื่อเล่น น้องแยม ชั้น อนุบาล 3/1
สถานที่ ห้องอนุบาล 3/1 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฯ
วัน / เดือน / ปี พฤศจิกายน 2551

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านร่างกาย
1. กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้
กระโดดยางขาเดียวได้อย่างต่อเนื่อง
2. รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้าง
รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้าง
3.เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
เดินขึ้น ลง บันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
4. เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
5. ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด
ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด
6.ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม
ผูกเชือกรองเท้า ฯลฯ
ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ผูกเชือกรองเท้า
7. ยืดตัวคล่องแคล่ว
ทำกิจกรรมคล่องแคล่ว
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
1. แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์ ได้เหมาะสม
ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนและของผู้อื่น
2. ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อืน
แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์ได้
3.ยึดตนเองเป็นศูนย์น้อยลง
ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง

พัฒนาการด้านสังคม
1. ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง

2. เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
เล่นหรือทำงานโดยที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
3. พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพ
พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้และทำความเคารพ
4. รู้จักขอบคุณเมื่อรับของจากผู้ใหญ่
ครูตักนมให้ กล่าวขอบคุณคะ
5. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
ทำความสะอาดโต๊ะอาหารตามความรับผิดชอบของเวรทำความสะอาด

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1

พัฒนาการด้านสติปัญญา
1. บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง
จำแนกหรือจัดหมวดหมู่สิ่งของได้
บอกสีของแก้ว 3 ใบมีสีไม่เหมือนกันมีสีแดง สีเขียว และสีส้ม
2. บอกชื่อ นามสกุลและอายุของตนเองได้
บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจน
3. พยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
เมื่อดินสอเขียนไม่ติดก็เดินไปหยิบใหม่
4. สนทนาโต้ตอบ / เล่าเรื่องราวได้
เล่าเรื่องที่ตนเองสนใจเกี่ยวกับการวาดรูป
5. สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่
วาดรูปเกี่ยวกับคนหรือรถไฟ
6. รู้จักใช้คำถาม “ ทำไม ” “อย่างไร”
ถามครูว่า “ ทำไมต้นไม้ต้องใช้หลายๆสี ”
7. เริ่มเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม
รู้จักขอโทษเพื่อนเมื่อตนทำผิด
8. นับปากเปล่าได้ถึง 20
นับ 1 – 30 ได้คล่องแคล่ว



ลงชื่อ.........................................ผู้สังเกต
( นางสาวสุพัตรา นามบุตร)

หมายเหตุ
3 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมมากในระดับดี
2 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมบ้างแต่อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง
1 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมน้อยมากหรือแทบจะไม่ปรากฏ


ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ. หน้า 27 – 28.






แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 5 ปี
ชื่อ. เด็กชาย เฉลิมเกียรติ จิวสุวรรณ ชื่อเล่น น้องเอิรธ์ ชั้น อนุบาล 3/1
สถานที่ ห้องอนุบาล 3/1 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฯ
วัน / เดือน / ปี พฤศจิกายน 2551

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านร่างกาย
1. กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง
กระโดดยางขาเดียวได้อย่างต่อเนื่อง
2. รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้าง
รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้าง
3.เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
เดินขึ้น ลง บันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
4. เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
5. ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด
ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด
6.ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม
ผูกเชือกรองเท้า ฯลฯ
ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม ผูกเชือกรองเท้า
7. ยืดตัวคล่องแคล่ว
ยืดตัว คล่องแคล่ว
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
1. แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์ ได้เหมาะสม
ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนและของผู้อื่น
2. ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์
3.ยึดตนเองเป็นศูนย์น้อยลง
ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลงเป็นบางครั้ง

พัฒนาการด้านสังคม
1. ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง

2. เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
เล่นหรือทำงานโดยที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
3. พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพ
พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้และทำความเคารพ
4. รู้จักขอบคุณเมื่อรับของจากผู้ใหญ่
ครูตักเนื้อให้ กล่าวขอบคุณครับ
5. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
เช็ดทำความสะอาดพื้นเมื่อทำกิจกรรมเสร็จหลังจากที่ครูบอก

พัฒนาการตามวัย
ระดับพฤติกรรม
ลักษณะพฤติกรรม
3
2
1
พัฒนาการด้านสติปัญญา
1. บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง
จำแนกหรือจัดหมวดหมู่สิ่งของได้
บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง
2. บอกชื่อ นามสกุลและอายุของตนเองได้
บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจน
3. พยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
เมื่อดินสอเขียนไม่ติดก็เดินไปหยิบใหม่
4. สนทนาโต้ตอบ / เล่าเรื่องราวได้
สนทนาโต้ตอบ / เล่าเป็นเรื่องราวได้
5. สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่
สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมี
รายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่
6. รู้จักใช้คำถาม “ ทำไม ” “อย่างไร”
ถามครูว่า “ทำไมรู้จักใช้คำถามทำไมต้อง” “อย่างไร”
7. เริ่มเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม
รู้จักขอโทษเพื่อนเมื่อวิ่งชนเพื่อน
8. นับปากเปล่าได้ถึง 20
นับ 1 – 20 ได้คล่องแคล่ว







ลงชื่อ.........................................ผู้สังเกต
( นางสาวสุพัตรา นามบุตร)

หมายเหตุ
3 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมมากในระดับดี
2 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมบ้างแต่อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง
1 หมายถึง การแสดงพฤติกรรมน้อยมากหรือแทบจะไม่ปรากฏ


ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ. หน้า 27 – 28.

การวิเคราะห์ข้อมูล
จากผลการศึกษาสังเกตพัฒนาการเด็กปฐมวัย อนุบาลชั้นปีที่ 1 – 3 เป็นดังนี้

พัฒนาการของเด็กปฐมวัยอายุ 3 ปี
เด็กชายณัฐวุฒิ สลากลาง ชั้นอนุบาล 1/3
พัฒนาการด้านร่างกาย
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - กระโดดด้วยขาทั้งสองอย่างคล่องแคล่ว
- เดินได้อย่างมั่นคงไม่เซหรือล้ม
- จับดินสอเขียนรูปวงกลมได้อย่างถูกต้อง
-ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามเส้นตรงได้

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ - รับลูกบอลแต่ยังมีหลุดบ้าง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - แสดงอารมณ์ดีใจและชอบ ขณะที่เต้นประกอบเพลง
- ยกมืออาสาเช็คพื้นห้องหลังดื่มนมเสร็จ
- มาโรงเรียนไม่ร้องเมื่อผู้ปกครองกลับบ้าน

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านสังคม
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - รับประทานอาหารได้โดยไม่หก หรือเสียงดัง
- เล่นของเล่นคนเดียวพร้อมกับพูดคุยกับเพื่อน
- เล่นเป็นผู้โดยสารรถไฟ
- เข้าแถวเพื่อเลือกกิจกรรมศิลปะ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ได้แก่

พัฒนาการด้านสติปัญญา
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -สำรวจสีที่แตกต่างระหว่างสีที่ผสมและยังไม่ผสมเข้า
กันแล้วเป็นสีต่างๆ
-บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจน
-บอกครูเมื่อต้องการดื่มนมอีกแก้ว
- เล่าเกี่ยวกับเรื่องพ่อพาไปเที่ยว
- สนใจฟังนิทานที่ครูเล่าอย่างตั้งใจ
- ถามครู นั่นคืออะไร
- ทำงานศิลปะโดยปะติดเศษวัสดุเป็นผลงานของ
ตนเอง
- ถามครูว่า “ทำไมครูต้องติดตรงนี้ อันนี้คือ อะไร”

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ - ร้องเพลงทำนองสั้น ๆ ไปพร้อมกับครูและเพื่อนๆเป็นบางครั้ง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

2 ชื่อ เด็กหญิง ธนัสชนก ชั้นอนุบาล 1/3
พัฒนาการด้านร่างกาย
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - กระโดดขึ้นลงอยู่กับที่ต่อหน้าเพื่อนๆ
- เดินได้อย่างมั่นคงไม่เซหรือล้มลง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ - รับลูกบอลได้และมีหลุดมือบ้าง
- จับดินสอเขียนรูปวงกลมบ้างเป็นบางครั้ง
- ใช้กรรไกรตัดกระดาษโดยใช้มืออีกข้าง
ประคองบ้าง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี


พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - แสดงอารมณ์สนุกสนาน ขณะที่เต้นประกอบเพลง - บอกกับครูว่า หนูดื่มนมหมดแล้ว
-ไม่ร้องเมื่อมาโรงเรียนหลังจาดที่ผู้ปกครองกลับบ้าน
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี


พัฒนาการด้านสังคม

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - รับประทานอาหารได้โดยไม่หก หรือเสียงดัง
- เล่นของเล่นเหมือนกันกับเพื่อนแต่เล่นคนเดียว
- เล่นเป็นคนซื้อของ
- เข้าแถวเพื่อเลือกกิจกรรมศิลปะ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี


พัฒนาการด้านสติปัญญา
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - สำรวจสีที่แตกต่างระหว่างพู่กันกับแปรงที่ทำกิจกรรมศิลปะ
- บอกชื่อจริงและชื่อแล่นของตนได้
- บอกครูเมื่อต้องการเข้าห้องน้ำ
- เล่าเรื่องเกี่ยวกับจระเข้ให้เพื่อนและครูฟัง
- สนใจฟังนิทานที่ครูเรื่องเกี่ยวกับแม่มดอย่างตั้งใจ
- ร้องเพลงทำนองสั้น ๆ ตามครูและเพื่อนๆได้
-ทำงานศิลปะใช้พู่กันจุ่มสีเป็นจุดๆตาม
จิตนาการ
-ถามครูว่า “มันคืออะไร มีไว้ทำไม”
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ -ถามครู เป็นบางครั้ง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการของเด็กปฐมวัยอายุ 4 ปี
ชื่อเด็กหญิง ดวงพร เพิ่มพล
พัฒนาการด้านร่างกาย
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -กระโดดขาเดียวได้อย่างมั่นคงและไม่ล้ม
-รับลูกบอลอย่างมั่นคง ไม่หล่น
-เดินทรงตัวขึ้นบันไดได้อย่างคล่องแคล่ว
-เขียนรูป สี่เหลี่ยม มีมุมชัดเจน
-ใช้มือจับกรรไกรและตัดกระดาษได้อย่างคล่องแคล่ว
-วิ่งเล่นกับเพื่อนๆ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี


พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -แสดงความดีใจและมีความสุขที่ได้ที่ได้ทำกิจกรรมฉีกปะ
-เมื่อฉีกปะเสร็จเอามาให้ครูดู
-ชี้ให้ครูดูเพื่อนที่ทำกิจกรรมร่วมกัน
-ให้ครูฟังขณะที่ตนพูดเกี่ยวกับผลงานศิลปะที่ตนทำ

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านสังคม
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -แต่งชุดนักเรียนและชุดนอนโดยตนเอง
-เล่นกับเพื่อนอย่างมีความสุข
-เข้าแถวรอเล่าผลงานให้ครูฟังโดยไม่แซงเพื่อน
-แบ่งอุปกรณ์ให้เพื่อนเมื่อเพื่อนขอ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ -เก็บของเข้าที่เมื่อครูบอก
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี


พัฒนาการด้านสติปัญญา
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -จำแนกกระดาษและสีเทียนไปไว้ในที่เก็บได้
-บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจน
-ครูบอกลองใช้สีอื่นนอกเหนือจากสีเหลืองจากนั้นใช้
สีฟ้าและสีเขียวผลงานทำศิลปะ
- เล่าเรื่องที่ตนเองสนใจเกี่ยวกับการวาดรูป เช่น วาด รูป
คน รถ ก็จะเล่าส่วนประกอบต่าง ๆของรถ
-จะชอบวาดรูปเกี่ยวกับคนหรือรถไฟ
-ถามครูว่า “ทำไมจะต้องใช้สีนี้”

2 ชื่อ เด็กหญิงอภิญญา ชิ้นงูเหลือม
พัฒนาการด้านร่างกาย
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -กระโดดขาเดียวได้อย่างมั่นคงและไม่ล้ม
-รับลูกบอลอย่างมั่นคง ไม่หล่น
-เดินทรงตัวขึ้นบันไดได้อย่างคล่องแคล่ว
-เขียนรูป สี่เหลี่ยม มีมุมชัดเจน
-ใช้มือจับกรรไกรและตัดกระดาษได้อย่าง
คล่องแคล่ว
-วิ่งเล่นกับเพื่อนๆในห้อง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -แสดงความดีใจและมีความสุขที่ได้ที่ได้ทำ
กิจกรรมฉีกปะ
-เมื่อฉีกปะเสร็จเอามาให้ครูดู
-ชี้ให้ครูดูเพื่อนที่ทำกิจกรรมร่วมกัน
-ให้ครูฟังขณะที่ตนพูดเกี่ยวกับผลงานศิลปะ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านสังคม
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -แต่งชุดนักเรียนและชุดนอนโดยตนเอง
-เล่นกับเพื่อนอย่างมีความสุข
-เข้าแถวรอเล่าผลงานให้ครูฟัง โดยไม่แซง
เพื่อน
-แบ่งอุปกรณ์ให้เพื่อนเมื่อเพื่อนขอ

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ -เก็บของเข้าที่เมื่อครูบอก
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านสติปัญญา
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ -จำแนกสีเทียนและสีไม้ไปไว้ในที่เก็บได้
-บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตน
ได้ชัดเจน
-เล่าผลงานของตนเองเป็นประโยคที่
ต่อเนื่องได้
-ทำผลงานศิลปะโดยใช้ทรายหรือใบไม้มา
เพิ่มในผลงานของตน
-ทำผลงานศิลปะโดยใช้ทรายหรือใบไม้มา
เพิ่มในผลงานของตน

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ -ลองใช้สีขูดสีเทียนใช้ผสมกับสีน้ำทำ
ผลงานศิลปะหลังจากที่ครูแนะนำเป็นบ้าง
ครั้ง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี


พัฒนาการของเด็กปฐมวัยอายุ 5 ปี
ชื่อเด็กหญิง จตุพร นามสกุล อาจกมล
พัฒนาการด้านร่างกาย
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้
- รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้าง
- เดินขึ้น ลง บันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
- เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
- ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด
- ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ผูกเชือกรองเท้า
ฯลฯ
- ทำกิจกรรมคล่องแคล่ว
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนและของผู้อื่น
- ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง
- แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์ได้ เหมาะสม
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านสังคม
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- เล่นหรือทำงานโดยที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
- พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้และทำความเคารพ
- ครูตักนมให้ กล่าวขอบคุณคะ
- ทำความสะอาดโต๊ะอาหารตามความรับผิดชอบของ เวรทำความสะอาด

มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี


พัฒนาการด้านสติปัญญา
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง
จำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของได้
- บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเองได้
- พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง
- สนทนาโต้ตอบ / เล่าเป็นเรื่องราวได้
- รู้จักใช้คำถาม “ทำไมทำไมไม้ต้องใช้หลายๆสี” - รู้จักขอโทษเพื่อนเมื่อตนทำผิด
- นับ 1 – 30 ได้คล่องแคล่ว
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ - สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมี
รายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

2. เด็กชาย เฉลิมเกียรติ จิวสุวรรณ
พัฒนาการด้านร่างกาย
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้
- รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้าง
- เดินขึ้น ลง บันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
- เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
- ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม ผูกเชือกรองเท้า - ยืดตัว คล่องแคล่ว
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ - ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ - ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง
- แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์ได้
เหมาะสม
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านสังคม
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
- พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพ
- ครูตักเนื้อให้ กล่าวขอบคุณครับ -
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ไม่มี
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี

พัฒนาการด้านสติปัญญา
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 3 ได้แก่ - บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง
จำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของได้
- บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเองได้
- สนทนาโต้ตอบ / เล่าเป็นเรื่องราวได้
- ถามครูว่า “ทำไมรู้จักใช้คำถามทำไมต้อง” “อย่างไร”
- รู้จักขอโทษเพื่อนเมื่อวิ่งชนเพื่อน
- นับปากเปล่าได้ถึง 20 ได้คล่องแคลว
- พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 2 ได้แก่ - สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมี
รายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่
มีพัฒนาการอยู่ในระดับ 1 ไม่มี










สรุปผล

จากการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 3 – 5 ปี ชั้นอนุบาล 1 – 3 จำนวน 6 คน
โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสารชนครินทร์ เป็นดังต่อไปนี้

พัฒนาการของเด็กปฐมวัยอายุ 3 ปี
1ชื่อเด็กชายณัฐวุฒิ สลากลาง น้องปลื้ม ชั้นอนุบาล 1/3
พัฒนาการด้านร่างกาย น้องปลื้มสามารถกระโดดด้วยขาทั้งสองข้างอย่างมั่นคง ส่วนการรับลูกบอลด้วยมือทั้งสองข้างของน้องยังมีหลุดมือบ้าง น้องปลื้มเดินขึ้นลงบันไดได้อย่างมั่นคงไม่เซหกล้มน้องสามารถจับดินสอเยนรูปวงกลมได้อย่างถูกต้อง ใช้กรรไกรมือเดียวตัดกระดาษตามเส้นปะเป็นเส้นตรงได้ กล่าวคือน้องปลื้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ น้องปลื้มแสดงอารมณ์ตามความรู้สึกด้วยการหัวเราะและยิ้มขณะที่เต้นประกอบท่าทางตามจังหวะของเสียงเพลงชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้รับคำชมโดยน้องยกมือขออาสาเป็นคนเช็ดนมที่หกหลังจากดื่มนม กลัวกาพลัดพรากจากผู้ใกล้ชิดน้อยลง คือไม่ร้องไห้เมื่อผู้ปกครองกลับบ้าน กล่าวคือน้องปลื้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสังคม น้องปลื้มจับช้อนส้อมตักอาหารรับประทานอาหารได้ด้วยตนเองโดยที่ไม่หก ชอบเล่นแบบคู่ขนานน้อยลง กล่าวคือ น้องปลื้มจะเล่นและพูดคุยกับเพื่อน เล่นบทบาทสมมติโดย เล่นผู้โดยสารของรถไฟ รู้จักเข้าแถวรอคอยเพื่อกิจกรรมศิลปะกล่าวคือน้องปลื้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสติปัญญา น้องปลื้มบอกความแตกต่างของสีที่ผสมกันว่ามีสีท
เปลี่ยนไปคือการรู้จักสำรวจสิ่งต่างๆที่เหมือนและต่างกันได้สอดคล้องกับทฤษฎีของเพียร์เจท์ ขั้นความคิดก่อนเกิดความคิดรวบยอดเป็นขั้นที่เด็กชอบสำรวจตรวจสอบ น้องปลื้มสามารถบอกชื่อตนเองได้ว่า ชื่อ ด . ช ณัฐวุฒิ น้องปลื้ม ขอความช่วยเหลือโดยการยกมือขอนมจากครูดื่มอีกแก้วสนทนาโต้ตอบหรือเล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆ ได้ โดยเล่าเกี่ยวกับเรื่องพ่อพาไปเทียว สนใจนิทานและเรื่องราวต่าง ๆสนใจฟังนิทานที่ครูเล่าเกี่ยวกับแม่มดอย่างตั้งใจน้องปลื้มอ่านหนังสือนิทานเป็ดน้อย
ร้องเพลงทำนองสั้น ๆ ไปพร้อมกับครูและเพื่อนๆเป็นบางครั้งถามครู นั่นคืออะไรทำงานศิลปะโดยปะติดเศษวัสดุเป็นผลงานของตนเองถามครูว่า “ทำไมครูต้องติดตรงนี้ อันคือ อะไร” กล่าวคือน้องปลื้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546

2 ชื่อเด็กหญิง ธนัสชนก นามสกุล คำอ่อน ชื่อเล่น น้องคีม
พัฒนาการด้านร่างกาย กระโดดขึ้นลงอยู่กับที่ต่อหน้าเพื่อนๆรับลูกบอลได้และมีหลุดมือบ้าง เดินได้อย่างมั่นคงไม่เซหรือล้มลงจับดินสอเขียนรูปวงกลมบ้างเป็นบางครั้งใช้กรรไกรตัดกระดาษโดยใช้มืออีกข้างประคองบ้างกล่าวคือน้องคีมมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ แสดงอารมณ์สนุกสนาน ขณะที่เต้นประกอบเพลงบอกกับครูว่า หนูดื่มนมหมดแล้วไม่ร้องเมื่อมาโรงเรียนหลังจาดที่ผู้ปกครองกลับบ้าน กล่าวคือน้องคีมมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสังคม รับประทานอาหารได้โดยไม่หก หรือเสียงดังเล่นของเล่นเหมือนกันกับเพื่อนแต่เล่นคนเดียวเล่นเป็นคนซื้อของเข้าแถวเพื่อเลือกกิจกรรมศิลปะกล่าวคือน้องคีมมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสติปัญญา สำรวจสีที่แตกต่างระหว่างพู่กันกับแปรงที่ทำกิจกรรมศิลปะบอกชื่อจริงและชื่อแล่นของตนได้บอกครูเมื่อต้องการเข้าห้องน้ำเล่าเรื่องเกี่ยวกับจระเข้ให้เพื่อนและครูฟังลักษณะพฤติกรรมสนใจฟังนิทานที่ครูกับแม่มดอย่างตั้งใจร้องเพลงทำนองสั้น ๆ ตามครูและเพื่อนๆได้ ถามครู เป็นบางครั้งทำงานศิลปะใช้พู่กันจุ่มสีเป็นจุดๆตามจิตนาการถามครูว่า “มันคืออะไร มีไว้ทำไม”กล่าวคือน้องคีมมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยอายุ 4 ปี
ชื่อเด็กหญิง ดวงพร เพิ่มพล
พัฒนาการด้านร่างกาย กระโดดขาเดียวได้อย่างมั่นคงและไม่ล้มรับลูกบอลอย่างมั่นคง ไม่หล่นเดินทรงตัวขึ้นบันไดได้อย่างคล่องแคล่วเขียนรูป สี่เหลี่ยม มีมุมชัดเจนใช้มือจับกรรไกรและตัดกระดาษได้อย่างคล่องแคล่ววิ่งเล่นกับเพื่อนๆ กล่าวคือน้องแฟ้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ แสดงความดีใจและมีความสุขที่ได้ที่ได้ทำกิจกรรมฉีกปะเมื่อฉีกปะเสร็จเอามาให้ครูดูชี้ให้ครูดูเพื่อนที่ทำกิจกรรมร่วมกันให้ครูฟังขณะที่ตนพูดเกี่ยวกับผลงานศิลปะที่ตนทำกล่าวคือน้องแฟ้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546



พัฒนาการด้านสังคม แต่งชุดนักเรียนและชุดนอนโดยตนเองเล่นกับเพื่อนอย่างมีความสุขเข้าแถวรอเล่าผลงานให้ครูฟังโดยไม่แซงเพื่อนแบ่งอุปกรณ์ให้เพื่อนเมื่อเพื่อนขอเก็บของเข้าที่เมื่อครูบอกกล่าวคือน้องแฟ้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสติปัญญา จำแนกกระดาษและสีเทียนไปไว้ในที่เก็บได้บอกชื่อจริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจนครูบอกลองใช้สีอื่นนอกเหนือจากสีเหลืองจากนั้นใช้สีฟ้าและสีเขียวผลงานทำศิลปะเล่าเรื่องที่ตนเองสนใจเกี่ยวกับการวาดรูป เช่นวาดรูป คน รถ ก็จะเล่าส่วนประกอบต่าง ๆของรถจะชอบวาดรูปเกี่ยวกับคนหรือรถไฟถามครูว่า “ทำไมจะต้องใช้สีนี้”กล่าวคือน้องแฟ้มมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546

2 ชื่อ เด็กหญิงอภิญญา ชิ้นงูเหลือม
พัฒนาการด้านร่างกาย กระโดดขาเดียวได้อย่างมั่นคงและไม่ล้มรับลูกบอลอย่าง
มั่นคง ไม่หล่นเดินทรงตัวขึ้นบันไดได้อย่างคล่องแคล่วเขียนรูป สี่เหลี่ยม มีมุมชัดเจนใช้มือจับกรรไกรและตัดกระดาษได้อย่าง คล่องแคล่ววิ่งเล่นกับเพื่อนๆในห้องกล่าวคือน้องอองฟองต์มีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ แสดงความดีใจและมีความสุขที่ได้ที่ได้ทำกิจกรรมฉีกปะเมื่อฉีกปะเสร็จเอามาให้ครูดูชี้ให้ครูดูเพื่อนที่ทำกิจกรรมร่วมกันให้ครูฟังขณะที่ตนพูดเกี่ยวกับผลงานศิลปะกล่าวคือน้องอองฟองต์มีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสังคม แต่งชุดนักเรียนและชุดนอนโดยตนเองเล่นกับเพื่อนอย่างมี
ความสุขเข้าแถวรอเล่าผลงานให้ครูฟังโดยไม่แซงเพื่อนแบ่งอุปกรณ์ให้เพื่อนเมื่อเพื่อนขอเก็บของเข้าที่เมื่อครูบอกกล่าวคือน้องอองฟองต์มีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสติปัญญา จำแนกกระดาษและสีเทียนไปไว้ในที่เก็บได้บอกชื่อ
จริง นามสกุลและชื่อเล่นของตนได้ชัดเจนครูบอกลองใช้สีอื่นนอกเหนือจากสีเหลืองจากนั้นใช้สีฟ้าและสีเขียวผลงานทำศิลปะ เล่าเรื่องที่ตนเองสนใจเกี่ยวกับการวาดรูป เช่นวาดรูป คน รถ ก็จะเล่าส่วนประกอบต่าง ๆของรถจะชอบวาดรูปเกี่ยวกับคนหรือรถไฟถามครูว่า “ทำไมจะต้องใช้สีนี้” กล่าวคือน้องอองฟองต์มีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546


พัฒนาการของเด็กปฐมวัยอายุ 5 ปี
1 ชื่อชื่อเด็กหญิง จตุพร นามสกุล อาจกมล
พัฒนาการด้านร่างกาย กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้างเดินขึ้น ลง บันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่วเขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้ ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ผูกเชือกรองเท้า ยืดตัว คล่องแคล่ว กล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนและของผู้อื่น ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลงแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์ได้เหมาะสมกล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสังคม ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง เล่นหรือทำงานโดยที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้และทำความเคารพ รู้จักขอบคุณเมื่อรับของจากผู้ใหญ่รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย กล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสติปัญญา บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง จำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของได้บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเองได้พยายาม หาวิธี แก้ปัญหาด้วยตนเอง สนทนาโต้ตอบ / เล่าเป็นเรื่องราวได้รู้จักใช้คำถาม “ทำไม” “อย่างไร” เริ่มเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม นับปากเปล่าได้ถึง 30 สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่กล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
2 ชื่อเด็กชาย เฉลิมเกียรติ จิวสุวรรณ
พัฒนาการด้านร่างกาย กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นด้วยมือทั้งสองข้าง เดินขึ้น ลง บันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่วเขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม ผูกเชือกรองเท้า ยืดตัว คล่องแคล่ว ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนดกล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่นยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลงแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์ได้ เหมาะสม กล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสังคม ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้ พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพรู้จักขอบคุณเมื่อรับของจากผู้ใหญ่รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายกล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
พัฒนาการด้านสติปัญญา บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง จำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของได้บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเองได้ สนทนาโต้ตอบ / เล่าเป็นเรื่องราวได้ รู้จักใช้คำถาม “ทำไม” “อย่างไร” เริ่มเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม นับปากเปล่าได้ถึง 30 พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง กล่าวคือน้องมีพัฒนาการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546















สภาพแวดล้อมของเด็กปฐมวัย

บทที่ 1
สภาพแวดล้อมของเด็กปฐมวัย


สถานศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของเด็ก ที่ทำการสอนอบรมและเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยโดยคำนึงถึงหลักพัฒนาการของเด็กทั้งสี่ด้าน เด็กปฐมวัยจะใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในสถานศึกษาโดยเฉพาะเวลากลางวัน โดยมีครู พี่เลี้ยง และผู้เกี่ยวข้องทำหน้าที่แทนพ่อแม่ของเด็กในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ดังนั้น สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาเด็กปฐมวัย จึงควร เป็นสถานที่เด็กใช้เรียนรู้ กิน เล่น พักผ่อน ให้ความอบอุ่นสะดวกสบายแก่เด็ก

ความหมายของสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย

สภาพแวดล้อม ตามความหมายทั่วไปตามพจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 หมายความถึง “ธรรมชาติที่แวดล้อมอยู่” ความหมายที่จะกล่าวถึงธรรมชาติซึ่งเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน ธรรมชาติที่มีชีวิตแต่ไม่มีชีวิต หรือทรัพยากรธรรมชาติก็ได้
บุญเสริม พูลสงวน (2530 : 5) ได้ให้ความหมายของคำว่า “ สิ่งแวดล้อม” ไว้ว่า“สิ่งใดก็ตามไม่ว่าจะเกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทำของมนุษย์แล้วมีผลเกี่ยวข้องกับตัวเรา ไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อมถือว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งแวดล้อม” บุญเสริม พูลสงวน ได้จัดสิ่งแวดล้อมออกเป็น 2 พวก คือ เกิดขึ้นตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
Report of the Task Forec on Early Childhood Education (1927 : 27) ได้ให้ความหมายของคำว่า สิ่งแวดล้อม (Environment) ไว้ว่า สิ่งแวดล้อมคือ สิ่งที่กระตุ้นให้ความสะดวกสบาย และให้ความเป็นเด็กแก่เด็กด้วยบล็อก บ่อทราย เครื่องเล่นอื่นๆ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะพัฒนาเด็กในทุก ๆ ด้าน คือร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
เบญจา แสงมลิ (2531 : 228) ได้ให้ความหมายของคำว่าสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาด้วยว่า “สถานศึกษาเด็กปฐมวัยเป็นสถานที่ที่จัดให้เด็กปฐมวัยอยู่รวมกัน และทำกิจกรรมร่วมกันอย่างเป็นสุข สะดวก สนุก สบายและปลอดภัย สภาพแวดล้อมจะมีทั้งสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน”
จากความหมายข้างต้นที่กล่าวมา สามารถสรุปความหมายการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยได้ว่าหมายถึง การจัดสภาพต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้งภายในห้องเรียน ภายนอกห้องเรียน ช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้รับประสบการณ์จากการอยู่รวมกันทำกิจกรรมร่วมกันอย่างเป็นสุข สะดวก สนุก สบายและปลอดภัย ตลอดจนส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
แนวคิดพื้นฐานในการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย

การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยมีแนวคิดพื้นฐานที่สำคัญหลายประการที่ต้องนำมาพิจารณาในการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อพัฒนาเด็ก แนวความคิดที่สำคัญได้แก่ แนวความคิดในการจัดสถานศึกษา แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนา แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้และแนวความคิดเกี่ยวกับจิตสำนึกที่มีต่อสภาพแวดล้อม
1. แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดศึกษากับการจัดสภาพแวดล้อม การจัดการศึกษาปฐมวัยได้แนวคิดของผู้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องเด็กกับการศึกษาระดับปฐมวัยหลายท่าน
รุสโซ ได้กล่าวถึงกิจกรรมด้านร่างกายมีความสำคัญมากในช่วง 5 ปีแรกของชีวิตเด็ก เด็กจะเรียน รู้จากประสบการณ์ตรง ซึ่งประสบการณ์ตรงถือว่าเป็นสภาพแวดล้อม นอกจากนั้นรุสโซยังเห็นคุณค่าของการเล่นที่มีต่อเด็กด้วย
เฟรอเบล มีความเชื่อว่าการส่งเสริมการพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กด้วยการกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ใช้การเล่นและกิจกรรมเป็นเครื่องมือนอกจากนั้นการจัดสถานที่ สภาพแวดล้อมให้ร่มเย็นช่วยส่งเสริมการพัฒนาการของเด็ก
มอนเตสเซอรี่ มีความคิดแตกต่างจากเฟรอเบล บ้างเล็กน้อย มอนเตสเซอรี่มีแนวความคิดว่าการจัดกิจกรรมหรือการจัดประสบการณ์ให้เด็กควรให้เสรีภาพในการแสวงหาความรู้ และเป็นไปด้วยความสมัครใจ และควรคิดถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล สภาพแวดล้อมที่จัดให้เด็กคำนึงถึงความต้องการและความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก
เพียเจต์ มีแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กว่าพัฒนาการแต่ละขั้นจะมีลักษณะบ่งชี้ถึงความปกติของพัฒนาการแต่ละขั้นนั้นๆ เด็กแต่ละคนจะมีลักษณะเฉพาะแต่ละด้าน วิธีการเรียนรู้แตกต่างกัน และวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดคือ การเรียนรู้ที่เกิดจากการเล่นและสิ่งที่เป็นรูปธรรมสภาพแวดล้อมที่จัดในสถานศึกษาจึงต้องมีหลากหลาย
จากแนวความคิดของนักการศึกษาที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่าการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นการจัดสภาพแวดล้อมให้แก่เด็กและการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยต้องยึดหลักการและแนวความคิดของนักการศึกษา กล่าวคือ การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยต้องยึดหลักเด็กเป็นศูนย์กลาง ให้เด็กได้มีเครื่องเล่น ใช้การเล่นเป็นสื่อในการเรียนรู้ของเด็ก สภาพแวดล้อมที่จัดควรเป็นสภาพแวดล้อมที่ให้ประสบการณ์ตรง และให้เสรีภาพในการแสวงหาความรู้ตามความสามารถและความแตกต่างของแต่ละบุคคล
2. แนวความคิดเกี่ยวกับพัฒนาการที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อม
พัฒนาการเริ่มต้นตั้งแต่การปฏิสนธิต่อเนื่องไปตลอดชีวิต พัฒนาการของคนแต่ละด้านเป็นไปตามลำดับขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ได้พัฒนาไปแล้วจะเป็นพื้นฐานของขั้นตอนที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น พัฒนาการแต่ละด้านของมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะแรกของชีวิตนั้น แม้จะมีลักษณะร่วมกันหลายประการ แต่ในพัฒนาการแต่ละด้านมีทฤษฎีเฉพาะอธิบายได้ แนวในการจัดสภาพแวดล้อม ในสถานศึกษาปฐมวัยต้องพิจารณาถึงทฤษฎีพัฒนาการเด็กด้วยจึงต้องจัดจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมแก่เด็กปฐมวัย
2.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางกาย กีเซล (Gesell) อธิบายถึงพัฒนาทางกายที่มีรูปแบบที่แน่นอนและเป็นไปตามลำดับขั้น สภาพแวดล้อมมีส่วนช่วยส่งเสริมและต่อเติมพัฒนาการของเด็ก กีเซลเน้นถึงการเติบโตและลักษณะพัฒนาการของเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน ถึงแม้แบบแผนและขั้นตอนพัฒนาการจะเหมือนกัน พัฒนาการของเด็กเป็นกระบวนการที่ประสานสัมพันธ์กันทุกด้าน ทั้ง ร่างกาย จิตใจ ดังนั้น การพัฒนาของเด็กจึงต้องพัฒนาไปพร้อม ๆ กันทุกด้าน ทฤษฎีพัฒนาการทางกายของ กีเซลมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อมและการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กในปัจจุบัน เพราะในสถานศึกษาปฐมวัยจะจัดสภาพแวดล้อมและกิจกรรมให้แก่เด็กโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาเด็กให้ครบทุกด้าน
2.2 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา เพียเจต์ (Piaget) เชื่อว่าพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กเกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมซึ่งมนุษย์จะซึมซับประสบการณ์และมีการปรับตัวและปรับโครงสร้างทางสติปัญญาเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ซึ่งโครงสร้าง ของสติปัญญาในอินทรีย์ต้องมีการปรับโครงสร้างให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมเช่นเดียวกับ บรูเนอร์ (Bruner) ได้แสดงความคิดเห็นตรงกับเพียเจต์ว่า การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายในอินทรีย์ การเรียนรู้จะพัฒนาได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับประสบการณ์และสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก จากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของทั้งสองท่าน การจัดสภาพแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัยจึงต้องคำนึงถึงหลักการเรียนรู้ว่า การจัดสภาพแวดล้อมต้องจัดให้เด็กได้กระทำ สัมผัสด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้เด็กคิดจินตนาการ เกิดการเรียนรู้ และเริ่มเข้าใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่สัมพันธ์กันจนเกิดเป็นความคิดรวบยอดของสิ่งนั้น ๆ ที่เด็กได้พบเห็น
2.3 ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตใจและอารมณ์ ทฤษฎีนี้ ออสูเบล (Ausubel) เห็นว่าเด็กมีอารมณ์ 2 ประเภท คือ อารมณ์ดีและอารมณ์ไม่ดี อารมณ์ของเด็กทั้งสองประเภทเกิดได้จากอิทธิพลของสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็กซึ่งการพัฒนาด้านนี้จะมีผลต่อเนื่องไปถึงบุคลิกภาพของเด็ก
2.4 ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม สังคมและบุคลิกภาพ ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรม สังคม และบุคลิกภาพ มีบุคคลที่ให้แนวทางเกี่ยวกับทฤษฎีเหล่านี้คือ ฟรอยด์ (Freud) อิริคสัน (Erikson) และดิวอี้ (Dewey) ทั้งสามท่านกล่าวถึงการจัดสภาพแวดล้อมมีบทบาทในการพัฒนาเด็กเป็นอย่างมาก เด็กจะเรียนรู้สภาพแวดล้อมการกระทำของเด็กเอง การเรียนรู้และประสบการณ์ที่เด็กได้จากสภาพแวดล้อมจะมีส่วนสัมพันธ์กันอย่างมาก เพราะเด็กกำลังอยู่ในวัยที่รับรู้มีการเรียนแบบ ดังนั้นสภาพแวดล้อมต่าง ๆ จะมีผลต่อการพัฒนาทางจริยธรรม สังคม และบุคลิก-ภาพของเด็กเป็นอย่างมาก
3. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อม จากการกำหนดนิยามของนักจิตวิทยาว่า “การเรียนรู้” หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลเนื่องจากการได้รับประสบการณ์หรือการฝึกฝน พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปนี้ ควรเป็นไปในลักษณะที่ค่อนข้างถาวร และจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมก็ได้
จากความหมายนี้ข้อความที่ระบุว่า พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเป็นผลจากการได้รับประสบการณ์ประสบการณ์ในที่นี้ได้จากสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็กที่เกิดตามธรรมชาติหรือตามสภาพที่ถูกจัดขึ้น
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่นักจิตวิทยาได้สรุปไว้มี 4 กลุ่มสำคัญ คือ กลุ่มปัญญานิยม กลุ่มมนุษย์นิยม กลุ่มพฤติกรรมนิยม และกลุ่มผสมผสานกลุ่มนักจิตวิทยา ทั้งสี่กลุ่มมีความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้แตกต่างกันในแต่ละแนวคิดซึ่งในที่นี้แนวคิดของกลุ่มปัญญานิยม และพฤติกรรมนิยมมีบทบาทเกี่ยวกับการเรียนรู้และการจัดสภาพแวดล้อมมากที่สุด ซึ่งจะอธิบายสั้น ๆ ดังนี้
กลุ่มปัญญานิยม ซึ่งนักจิตวิทยาที่สำคัญ คือ บรูเนอร์ (Bruner) และออสูเบล (Ausubel) ซึ่งเชื่อกันว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคลและจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาที่บุคคลได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ในการจัดกิจกรรมการเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออกให้มากที่สุด และครูควรจัดสภาพการณ์ต่าง ๆ เพื่อเอื้อให้เด็กได้ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง
กลุ่มพฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยาที่สำคัญของกลุ่มพฤติกรรมนิยมคือวัตสัน (J. B. Watson) ธอร์นไดค์ (Thorndike) และสกินเนอร์ (B.F. skinner) นักจิตวิยาเหล่านี้มีความเชื่อว่า การเรียนรู้ของมนุษย์นั้นเกิดจากการได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
จะเห็นได้ว่ากลุ่มนักจิตวิทยาปัญญานิยมและกลุ่มพฤติกรรมนิยม เน้นการเรียนรู้ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้น สถานศึกษาปฐมวัยจึงควรพิจารณาจัดสถานศึกษาที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้แก่เด็กโดยจัดสภาพแวดล้อมที่จูงใจเด็กและบุคคลให้มาสถานศึกษา
4. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างจิตสำนึกที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อม จิตสำนึกในเรื่องสภาพแวดล้อมเป็นสิ่งที่ครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องต้องปลูกฝังให้แก่เด็กปฐมวัย การที่จะสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กได้ ครูควรต้องเข้าใจในเรื่องที่สำคัญ 2 เรื่อง คือ ความหมายของจิตสำนึก และการสร้างจิตสำนึกของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อม
4.1.1 ความหมายของจิตสำนึก คำว่า “จิตสำนึก” หมายถึง ภาวะที่จิตตื่นและรู้ตัวสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530) จิตสำนึกที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมจึงพอสรุปความหมายสั้น ๆ ได้ว่าเป็นภาวะจิตสำนึกที่สามารถตอบสนองต่อการจัดสภาพแวดล้อมทั้งประสาทสัมผัสทั้ง 5
4.1.2 การสร้างจิตสำนึกของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อม จิตสำนึกของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมเป็นสิ่งสำคัญ และครูผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในสถานศึกษา ควรปลูกฝังและสร้างความรู้สึกและภาวะจิตที่ดีต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาให้แก่เด็ก เช่น วิธีการดูแลรักษาสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ การถนอม การใช้ และ การจัดสภาพแวดล้อมให้สวยงามเป็นระเบียบ ไม่เป็นผู้ทำลาย และดูแลรักษาไม่ให้ถูกทำลาย การสร้างจิตสำนึกของเด็กต้องอาศัยระยะเวลา ความสม่ำเสมอ และมีต้นแบบที่ดี ในการสร้างจิตสำนึกมีขั้นตอนที่สำคัญ 3 ขั้นตอน ดังนี้
1) ขั้นสร้างความตระหนัก ขั้นนี้ครูต้องทำให้เด็กมองสิ่งรอบ ๆ ตัวและตัวเด็กเองว่า สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาและตัวเด็กเองมีความสำคัญ เช่น ถ้าเด็กเห็นว่าห้องเรียนสกปรกจะทำให้ตัวเด็กสุขภาพไม่ดี ไม่สบายตาหรือสบายใจแต่ถ้าห้องเรียนสะอาด เขาจะมีความสบายตาสบายใจและมีผลทำให้เขามีสุขภาพดี
2) ขั้นให้ความรู้ ขั้นนี้ครูควรให้พื้นฐานเกี่ยวกับหน้าที่รับผิดชอบที่เขามีต่อสภาพ- แวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย แนวทางในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม ซึ่งขั้นนี้ครูควรให้เด็กเรียนรู้จากสภาพความเป็นจริงซึ่งอยู่รอบตัวเด็ก
3) ขั้นสร้างเสริมเจตคติ การสร้างเสริมเจตคติสามารถทำได้โดยการสร้างค่านิยมในการใช้อุปกรณ์ เครื่องเล่นในสถานศึกษาอย่างประหยัด สร้างนิสัยให้เด็กเกิดความรู้สึกรับผิดชอบ รู้ผิดชอบชั่วดี โดยการให้เด็กเห็นตัวแบบที่ดีและฝึกปฏิบัติจริง เพื่อสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กควรทำหลาย ๆ วิธี และทำอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการย้ำและปลูกฝัง ทั้งนี้การปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กต้องคำนึงถึงวุฒิภาวะ ความสนใจและความต้องการของเด็กปฐมวัยด้วย
จากความหมายของสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาและแนวคิดพื้นฐานในการจัดสภาพแวดล้อมพอสรุปเป็นประเด็นสำคัญได้ว่า ในการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการให้เด็กครบทุกด้าน สภาพแวดล้อมควรเป็นสภาพแวดล้อมที่กระตุ้นเด็ก จูงใจเด็ก และการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาที่จะส่งเสริมพัฒนาการให้เด็กครบทุกด้านนั้น นักการศึกษา นักจิตวิทยาที่สำคัญหลายท่านเน้นความสำคัญของการเรียนรู้ว่าเด็กจะเกิดการเรียนรู้และพัฒนาได้นั้น สภาพแวดล้อมในสถานศึกษาที่จัดให้เด็กต้องยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง สภาพแวดล้อมที่จัดให้ประสบการณ์ตรงและจึงใจเด็กให้เด็กอยากเรียนรู้ เมื่อเด็กอยากเรียนรู้ เด็กจะอยากมาสถานศึกษา นอกจากนั้นสิ่งที่สถานศึกษาขาดไม่ได้คือการจัดประสบการณ์ต่าง ๆ ให้เด็กเกิดความรู้สึกที่จะช่วยจัดสภาพแวดล้อม ดูแลสภาพแวดล้อมให้เป็นระเบียบสวยงาม ถนอมดูแลและใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องเล่นอย่างถูกวิธี และไม่ทำลายสภาพแวดล้อม ตลอดจนดูแลรักษาไม่ให้ถูกทำลาย

ความสำคัญในการจัดของสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย


ช่วงชีวิตในวัยปฐมวัย เป็นช่วงชีวิตที่มีความสำคัญมาก เด็กจะพัฒนาและเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้มากที่สุดในช่วงนี้โดยเฉพาะเมื่อเด็กเข้ามาในสถานศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา จากการปฏิบัติกิจกรรมซึ่งครูเป็นผู้จัดให้ นอกจากกิจกรรมและประสบการณ์แล้วอีกสิ่งหนึ่งซึ่งครูและสถานศึกษาเป็นผู้จัดให้แก่เด็ก คือ สภาพแวดล้อม การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีคุณค่า ทำให้เด็กได้ประสบการณ์ตรงเกิดการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับ ผู้อื่น จากสภาพแวดล้อมทางภายในและภายนอกห้องเรียนเด็กสามารถ ค้นคว้า ทดลอง สังเกต หาเหตุผลและขยายประสบการณ์ให้เด็กได้อย่างกว้างขวาง ซึ่งประสบการณ์เหล่านี้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัยส่วนหนึ่ง การที่เด็กปฐมวัยจะเจริญเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมประเทศชาตินั้น ขึ้นอยู่กับการ อบรมเลี้ยงดูที่เด็กได้รับในวัยปฐมวัย การจัดสภาพแวดล้อมมีผลต่อการสร้างเสริมพัฒนาการเด็กอย่างมาก เริ่มต้นตั้งแต่สภาพแวดล้อมทางบ้านซึ่งมีพ่อแม่ ญาติ และผู้ใกล้ชิด คอยดูแล ลำดับต่อมาเป็นสภาพแวดล้อมนอกบ้าน สภาพแวดล้อมนอกบ้านที่มีส่วนเกี่ยวข้องและมีความสำคัญต่อเด็กปฐมวัยมาก คือ สภาพแวดล้อมในสถานศึกษา
ความสำคัญของการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อเด็ก ครูและบุคลากรอื่น ๆ เป็นอย่างมาก ดังนั้น สถานศึกษาจำเป็นต้องจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องต่อความต้องการของเด็กและบุคลากรตามที่เน้นให้เห็นความสำคัญข้างต้น

วัตถุประสงค์ในการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย



สถานศึกษาปฐมวัยเป็นสถานที่จัดสภาพแวดล้อมให้แก่เด็ก เล่น กิน นอนและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข มีความปลอดภัย และเกิดการเรียนรู้ การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีนักการศึกษาได้ให้ข้อคิดไว้หลายท่านดังต่อไปนี้

เบญจา แสงมลิ (2531) ได้แสดงให้เห็นวัตถุประสงค์ของการจัดสภาพแวดล้อมดังนี้
1. สร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา
2. อำนวยความสะดวกให้แก่เด็กปฐมวัย ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
3. สร้างความสวยงาม มีระเบียบ ดึงดูดความสนใจของเด็กปฐมวัยและผู้ปกครอง


4. สนองจุดมุ่งหมายของการศึกษาระดับปฐมวัย

หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา (2523) ได้กล่าวถึงจุดประสงค์สร้างความอบอุ่นมั่นใจ สนใจมาโรงเรียนและอยากมาโรงเรียน
สำหรับในเรื่องนี้สามารถสรุปได้ว่าจุดประสงค์ของการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยจัดไว้มี 6 ประการ ดังนี้


1. เพื่อเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา
2. เพื่อให้ความสะดวกให้แก่เด็กปฐมวัย ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาปฐมวัย
3. เพื่อสร้างบรรยากาศให้เด็กเกิดความอบอุ่น มั่นใจ สนใจ รักและอยากมาสถานศึกษา
4. เพื่อช่วยผ่อนแรงและประหยัดเวลาแก่ครูในการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย


5. เพื่อช่วยตกแต่งสถานศึกษาให้สวยงามทำให้สถานศึกษาน่าสนใจ


6. เพื่อส่งเสริมสัมพันธ์ภาพระหว่างบ้านและสถานศึกษาปฐมวัย

จุดประสงค์ทั้ง 6 ข้อ เป็นจุดประสงค์ที่สำคัญถ้าพิจารณาแล้วการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัยมีจุดมุ่งเน้นที่จะจัดเพื่อให้สอดคล้องกับต้องการความสนใจของเด็กเป็นหลักและเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยและถ้าการจัดสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาปฐมวัยที่มุ่งหมายอำนวยความสะดวกแก่บุคลากรและผู้ปกครองจะทำให้สร้างเสริม สัมพันธ์ภาพที่ดีของสถานศึกษาและผู้ปกครองซึงเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน





บทที่ 2
การศึกษาสังเกตการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียน
ในสถานฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู

1. สภาพแวดล้อมภายในอาคาร
1.1 การจัดห้องต่างๆภายในโรงเรียน
สมร ทองดี ( 2547 : 87) กล่าวว่า ห้องเรียนควรมีลักษณะดังนี้
1.1.1 ต้องมีห้องเรียนครบตามจำนวนชั้นที่โรงเรียนจัด
1.1.2 ห้องเรียนควรมีขนาดไม่น้อยกว่า 6 X 8 เฉลี่ยแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ตารางเมตร
ต่อนักเรียน 1 คน
1.1.3 ห้องเรียนควรมีแสงสว่างพอเพียงและเข้าถูกทิศทาง มีอากาศถ่ายเทประมาณ 2.25 ลูกบาศก์เมตร ต่อนักเรียน 1 คน
1.1.4 หน้าต่างควรมีเพียงพอที่จะให้อากาศถ่ายเทได้และมีแสงสว่างพอเพียงขอบหน้าต่าง ควรมีความสูงพอให้เด็กมองเห็นทัศนีย์ภาพภายนอกห้องเรียน
1.1.5 พื้นห้องควรเป็นพื้นไม้หรือวัสดุที่เด็ก สามารถนั่งหรือนอนเล่นได้
1.1.6 ห้องเรียนต้องมีฝาผนังกั้นเป็นสัดส่วน ฝาผนังควรเป็นฝาผนังเรียบ ๆ ทาสีสวยงาม ควรทำสีสว่าง ๆ
1.1.7 ความสูงของเพดานห้องเรียนต้องไม่น้อยกว่า 2.8 เมตร
1.1.8 ภายในห้องเรียนควรมีอุปกรณ์ประกอบการสอน การเล่น ตลอดจนวัสดุครุภัณฑ์ที่อำนวยความ สะดวกให้ครู นักเรียนเพียงพอ ถ้าเป็นไปได้ควรมี ห้องน้ำ ห้องส้วม อยู่ติดกับห้องเรียนด้วยซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ต้องมีขนาดและติดตั้งที่เหมาะสมกับเด็กรวมทั้งควรมีอ่างล้างมือด้วย
1.1.9 ห้องอื่น ๆ โรงเรียนอนุบาลควรมีห้องพิเศษนอกเหนือจากห้องเรียน ดังต่อไปนี้
1.1.9.1. ห้องพยาบาล 1 ห้อง เตียงพยาบาลอย่างน้อย 2 เตียง มีตู้ยาและเครื่องใช้สำหรับปฐมพยาบาลอย่างเพียงพอ ควรจะมีพยาบาลประจำโรงเรียนอย่างน้อย 1 คน
1.1.9.2. ห้องสมุดพร้อมทั้งอุปกรณ์และหนังสือ ถ้าไม่สามารถจัดห้องสมุดได้ ควรจัดมุมใดมุมหนึ่งหรับเป็นมุมอ่านหนังสือ โรงเรียนอนุบาลที่มีชั้นประถมศึกษาจำเป็นอย่างยิ่งที่จะแยกห้องสมุดเป็นเอกเทศ
จากการที่ผู้สังเกตได้ไปศึกษาสังเกตสภาพแวดล้อมภายในอาคารการจัดห้องเรียน ภายในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ พบว่า ทางโรงเรียนได้แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ อนุบาล 1-3 ระดับละ 2 ห้อง และมีห้องบริบาลอีก 1 ห้อง หน้าห้องเรียนแต่ละห้องจะมีชั้นว่างรองเท้าไว้ให้เด็ก และโต๊ะรับประทานอาหารอยู่หน้าห้อง

1.2 การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน
เยาวภา เดชะคุปต์ ( 2542 :129) กล่าวว่า การจัดอาคารสถานที่และห้องเรียนสำหรับเด็ก
ปฐมวัย (indoor space) คำนึงถึงว่า เด็กมีความแตกต่างจากผู้ใหญ่ความต้องการในการใช้เนื้อที่จึงแตกต่างกัน เพราะเด็กเล็กจะเคลื่อนไหวรวดเร็วและต้องการเนื้อที่มาก ห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยควรจะมีขนาดใหญ่พอที่เด็กจะทำงานและอยู่รวมกับผู้อื่นโดยไม่รู้สึกอึดอัด การจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนควรให้มีชีวิตชีวา มีสภาพคล้ายบ้าน และมีความยึดหยุ่น รูปร่างของห้องเรียนควรเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทั้งนี้เพื่อให้เด็กเคลื่อนไหวและทำกิจกรรมได้สะดวก ห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยควรอยู่ติดพื้น และไม่ควรมีซอกมุมที่เด็กจะหลบซ่อนได้ และควรมีห้องน้ำและอ่างล้างมือไว้ในห้อง ประตูทางเข้าควรอยู่ระดับเดียวกับพื้นถนน ขนาดห้องเรียนควรใหญ่พอที่เด็กจะพัฒนากล้ามเนื้อให้ใหญ่ได้ ห้องเรียนที่เหมาะสมควรมีขนาด 40 x 60 ตารางฟุตต่อเด็ก 1 คน ควรมีเนื้อที่นอกห้องเรียนที่ใช้เป็นสนามเด็กเล่น และบริเวณที่ใช้สำหรับปลูกต้นไม้หรือทำสวนครัว
ภายในห้องเรียนควรมีบริเวณที่เด็กจะทำงานคนเดียวได้ ซึ่งควรจัดเป็นเอกเทศแยกจากเด็กอื่นๆ โดยให้เด็กสามารถทำงานคนเดียวหรือกับครูโดยใช้สมาธินาน ๆ ได้ โดยบริเวณดังกล่าวอาจจะใช้สำหรับทดสอบเด็กทั้งเดี่ยวและกลุ่มได้ บริเวณดังกล่าวนี้อาจจะใช้ชั้นวางหนังสือหรือฉากเตี้ย ๆ กั้นเป็นสัดส่วน แต่ให้อยู่ในสายตาของครูที่จะมองเห็นได้ การจัดห้องเรียนสำหรับเด็กควรจัดเป็นห้องเรียนขนาดใหญ่มากกว่าห้องเล็ก ๆ หลายห้องทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวนบุคลากรที่มีอยู่
นอกจากนี้ถ้าห้องเรียนมีเนื้อที่ต่างระดับก็ควรนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ใช้เฉลียงสำหรับฟังนิทาน เป็นต้น ภายในห้องเรียนควรจัดศูนย์การเรียน มุมต่าง ๆ หรือบริเวณที่ทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งก่อนจะจัดครูควรที่จะพิจารณาถึงทิศทางการเคลื่อนที่ว่าจะให้เด็กเคลื่อนที่ไปอย่างไร โดยไม่ให้รบกวนกัน ซึ่งมีวิธีจัดการได้หลายวิธี เช่น เอาชั้นสำหรับวางหนังสือนิทานวางรอบ ๆ พรมหรือวางข้างหลังโต๊ะครู เพื่อให้ครูได้ใช้สั่งสอนเด็กเป็นรายบุคคล หรือการใช้กล่องขนาดใหญ่มาเป็นที่เก็บของ
ครูควรให้ความสนใจกับการจัดเนื้อที่โต๊ะ เก้าอี้ หรือ เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ด้วย ซึ่งวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่สำคัญเท่ากับพื้นที่โลง ๆ ว่าง ๆ ที่เด็กจะเคลื่อนไหวได้สะดวก ศูนย์การเรียนควรจัดไห้มีความยึดหยุ่นให้มากที่สุด โดยครูจำไว้ว่าจะจัดห้องเรียนให้เหมาะสมกับเนื้อที่ที่มีอยู่และใช้เนื้อที่ทุกตารางนิ้วที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดได้อย่างไร

การจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน
1.2.1 อุปกรณ์สำหรับพักผ่อน(rest or sleeping facilities) อุปกรณ์ในการพักผ่อนเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับเด็กที่มาโรงเรียนตลอดวัน อุปกรณ์ในการพักผ่อนสำหรับเด็ก ได้แก่ ผ้าปูที่นอน ผ้าห่ม หรือเสื้อใน การจัดอาคารสถานที่ควรมีเนื้อที่เหมาะสำหรับเด็กได้นอนพักผ่อนไม่ควรสว่างมาก เพื่อช่วยให้เด็กได้พักผ่อนอย่างแท้จริง นอกจากนี้ควรเปิดเพลงเบา ๆ ขณะนอนพักให้เด็กฟัง เนื้อที่เหมาะสมสำหรับเด็กนอนพักผ่อนควรมีขนาดดังนี้
27x48 นิ้ว สำหรับเด็กอายุระหว่าง 4-5 ปี
27x52 นิ้ว สำหรับเด็กอายุระหว่าง 4-6 ปี
27x54 นิ้ว สำหรับเด็กอายุระหว่าง 4-7 ปี
บางโรงเรียนที่เด็กมาโรงเรียนแค่ครึ่งวัน ครูอาจจะพรมหรือผ้าเช็ดตัวปูให้เด็กนอนผักผ่อนในช่วงกลางวันได้
1.2.2 ตู้เก็บของและตู้ช่อง ( lockers and storager ) ตู้ช่องควรเป็นสิ่งที่เตรียมเอาไว้ให้เด็กทุกคนเพื่อ ช่วยให้เด็กรู้จักเก็บของเข้าที่ แต่เด็กแต่ละคนควรมีที่เก็บของใช้ส่วนตัว ตู้ช่องอาจจะทำได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายกับการใช้ ตู้ช่องที่ให้เด็กเก็บของใช้ควรมีขนาดความสูง 35 นิ้ว ยาว 10-12 นิ้ว และลึกประมาณ 10-15 นิ้ว ควรมีตะขอสำหรับแขวนเสื้อ มีชั้นยาวประมาณ 7 นิ้วลงมาจากส่วนบนของตู้ และมีที่วางรองเท้าซึ่งสูงจากพื้นตู้ประมาณ 10 นิ้ว ตู้ช่องควรอยู่ในด้านประตูทางเข้าออก เพราะถ้าอยู่ไกลจากประตูเด็กมักจะลืมสิ่งของของตน นอกจากนี้เด็กแต่ละคนควรมีกล่องหรือกระเป๋าสำหรับใส่ของส่วนตัว ทั้งที่ตู้ช่องและกระเป๋าควรมีชื่อเด็กและสัญลักษณ์เฉพาะตัวของเด็กกำกับเอาไว้ข้างๆ ทั้งนี้เพื่อให้เด็กจำชื่อของตนเอง
ตู้เก็บของเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับใช้เก็บวัสดุต่างๆ ซึ่งควรเป็นตู้ปิดที่ทำเอาไว้ติดผนังและสามารถนำมาใช้เป็นมุมให้เด็กทำงานหรือทำฉากกั้นห้องได้ ภายในตู้ควรมีลิ้นชัก หิ้งไว้เก็บของเล่น กระดาษ และอุปกรณ์อื่นๆเช่น กรรไกร สี ซึ่งควรจะจัดเอาไว้เป็นหมวดหมู่และแยกประเภทตามชนิด ตามหมวด เพื่อให้สะดวกแก่การนำไปใช้
1.2.3. ห้องน้ำอ่างล้างมือ และอุปกรณ์ทำความสะอาด( sanitary facilities ) อ่างล้างเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการทำความสะอาดของเด็กภายหลังจากการทำกิจกรรมแต่ละครั้ง ห้องน้ำและอุปกรณ์ในการล้างมือควรจัดไว้ในห้องน้ำและนอกห้อง โดยควรมีห้องน้ำขนาดใหญ่ 1 ห้อง หรือห้องน้ำขนาดเล็ก 2 ห้อง สำหรับเด็กผู้และเด็กผู้ชายหรือสำหรับใช้ด้วยกันภายในห้องเรียยควรมีหน้าต่างและพัดลมระบายอากาศที่เหมาะสม ควรเป็น 1:5 จะเหมาะกว่า โถส้วมควรมีขนาดตั้งแต่ 10 – 13 นิ้วสูงจากพื้น และที่สำหรับล้างมือควรมีขนาด 2 – 24 นิ้ว สำหรับเด็กอายุระหว่าง 4 – 5 ปี ขนาดขงโถส้วมควรมีขนาดใหญ่เล็กแตกต่างกันไปตามอายุของเด็ก อ่างล้างควรอยู่ใกล้ประตูทางออกเพราะเมื่อเด็กเข้าส้วมเสร็จจะได้ล้างมือ นอกจากนี้ภายในห้องเรียนก็ควรมีอ่างล้างมือเอาไว้ให้เด็กล้างมือหลังจากทำกิจกรรมศิลปะและกิจกรรมอื่นๆเสร็จแล้ว
ที่ดื่มน้ำสำหรับเด็กควรจัดตู้น้ำเย็นหรือที่ใส่น้ำดื่มเอาไว้ใหในห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยควรมีขนาดความสูงพอที่เด็กจะกดดื่มได้ แต่ถ้าเป็นไปได้ควรเตรียมแก้วน้ำเฉพาะตัวเด็กแต่ละคนเอาไว้
1.2.4 ระบบเสียง (Acoustics) เป็นสิ่งที่มีผลต่อคนเราทั้งร่างกายและจิตใจ ดังนั้นทางโรงเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยจึงควรจัดระบบเสียงให้เหมาะสม การเรียนการสอนภายในห้องเรียนจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถ้ามีเสียงรบกวนจากภายนอก เช่น เสียงเครื่องจักร เสียงยวดยานพาหนะ และเสียงอื่นๆที่ไม่พึงประสงค์ดังเข้ามาในห้องเรียน เพื่อที่จะช่วยลดเสียงต่างๆที่ไม่พึงประสงค์การใช้พรมหรือวัสดุต่างๆ กรุตามฝาผนัง พื้นห้อง หรือเพดาน อาจจะช่วยให้ระบบเสียงดีขึ้น การใช้พรมนอกจากจะช่วยลดเสียงแล้ว ยังสามารถช่วยทำให้ห้องน่าดูขึ้น หรือจะใช้เป็นที่จัดกิจกรรมต่างๆได้
1.2.5 ผนังห้อง (Walls) ฝาผนังห้องเป็นเนื้อที่ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่างๆได้ เช่น ใช้ติดกระดานดำหรือป้ายนิเทศ โดยควรจัดกระดานป้ายนิเทศกับกระดานดำเอาไว้ตำแหน่งที่เหมาะสม ผนังห้องควรทำจากวัสดุที่สามารถทำความสะอาดได้ง่าย และควรทำจากวัสดุที่อ่อนที่เสียงผ่านได้น้อยและสามารถใช้เป็นที่ติดผลงานเด็กได้ด้วย ผนังห้องควรมีขนาดที่สูงไม่มากนัก และควรมีการทาสีให้แสงสว่างแก่ห้อง ห้องที่ทาสีต่างๆจะทำให้เกิดความสวยงามและให้ความรู้สึกที่ท้าทายแก่เด็กและทำให้ดูมีเนื้อที่กว้าง นอกจากนี้ยังให้ความสรู้สึกสบายๆเท่ากับท้าทายให้เด็กอยากมาโรงเรียน แต่ไม่ควรเป็นสีที่กระตุ้นเด็กมากเกินไป และยังควรเลือกใช้อุปกร์ของเล่นเป็นสีหลักๆที่เด็กชอบจะช่วยให้ห้องเรียนมีชีวิตชีวาด้วย
1.2.6 พื้นห้อง (Floors) พื้นห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยควรสะอาด ใช้วัสดุที่เรียบและทำความสะอาดได้ง่าย และไม่ทำให้เกิดริ้วรอยขีดข่วนเมื่อโดนของหนัก ทั้งนี้เพราะกิจกรรมของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่จะทำอยู่บนพื้นห้อง ดังนั้นพื้นจึงไม่ควรมีสิงกีดขวาง ทั้งนี้เพื่อให้เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ
บริเวณสำหรับรับประทานอาหาร และห้องเรียนซึ่งอาจจะใช้บริเวณเดียวกันควรเป็นบิเวณที่ทำความสะอาดได้ง่าย โต๊ะและเก้าอี้ควรเคลื่อนย้ายได้สะดวก การเตรียมอาหารและบริเวณที่ตักอาหารควรมีขนาดมาตรฐานและสะอาดถูกต้องตามหลักอนามัย
1.2.7 หน้าต่างและประตู (Windows and Doors) ประตูทางเข้าออกและหน้าต่างเป็นสิ่งสำคัญประการหนึ่งของการจัดสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้แก่เด็ก ดังนั้น บริเวณที่เป็นประตูและหน้าต่างควรได้รับการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน หน้าต่างควรมีระดับต่ำพอที่เด็กจะมองออกไปข้างนอกห้องได้ นอกจากนี้ยังมีผ้าม่าน ม่านบังตา หรือบานเกร็ด ทั้งนี้เพื่อป้องกันแสงสว่างที่อาจจะจ้ามากเกินไป
หลังคาควรมีช่วงยาวพอเหมาะที่จะให้เกิดร่มเงาที่เหมาะสม หน้าต่างควรมีขนาดเหมาะสมกับผ้าม่านหรือม่านบังตา บริเวณที่รับประทานอาหารควรใช้หน้าต่างที่เป็นบานเกร็ด หน้าต่างที่เปิดออกไปแล้วพบแต่กำแพงหรือไม่มีอะไรให้ดู ควรจัดบริเวณที่วางของเอาไว้โชว์จะดีกว่า ประตูควรมีล็อกตัวเองได้ในตัวและประตูไม่ควรมีบานบังตาที่จะตีกลับมาโดนตัวเด็กได้
1.2.8 ระบบระบายอากาศ แสงสว่าง และความร้อน (Ventilation , lighting , Heat) ระบบการระบายอากาศที่ดีที่สุด คือ การเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเท แต่บางครั้งสภาพอากาศก็ไม่อำนวยให้ทำได้ หน้าต่างจึงควรสามารถปรับให้เปิด – ปิด ได้ด้วยตัวเด็ก ถ้าอากาศร้อนเกินไปควรมีพัดลมเพดานเพื่อช่วยระบายอากาศ ไฟฟ้าควรมีขนาดสูงจากพื้น 10-12 ฟุต และควรมีโป๊ะไฟเพื่อไม่เคืองตา สวิตซ์ไฟควรอยู่ระดับเอื้อมไม่ถึง แสงสว่างในห้องไม่ควรจ้าเกินไปเพราะจะทำให้เคืองตา บริเวณที่มืดควรทาสีเพื่อช่วยให้บริเวณนั้นแลดูสว่างขึ้น ความสว่างจากธรรมชาติจะเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับการทำงานมากกว่าแสงไฟฟ้า
1.2.9 เครื่องเรือนหรือโต๊ะเก้าอี้ (Furniture)
- โต๊ะเก้าอี้ ควรสามารถโยกย้ายได้ ควรมีขนาดพอเหมาะกับเด็ก แลดูน่าใช้ ง่ายต่อการทำความสะอาดและใช้ได้ง่าย เครื่องใช้ที่เหมาะสมควรสามารถใช้ได้หลายๆอย่าง
- โต๊ะ ควรมีความสูงแตกต่างไปตามอายุของเด็กตั้งแต่ 15 – 22 นิ้ว โต๊ะที่มีรูปร่างต่างจะใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างมากกว่า เช่น โต๊ะเล็กๆสำหรับมุมหนังสือ โต๊ะที่วางเอาไว้ติดผนัง ฯลฯ โต๊ะควรปูด้วยฟอร์ไมก้า และความสามารถเคลื่อนย้ายได้ในโอกาสต่างๆ
- เก้าอี้ ควรมีขนาดพอเหมาะกับเด็ก และเบาพอที่เด็กจะยกและเคลื่อนย้ายได้โดยไม่เกิดเสียง เก้าอี้ควรมีขนาดสูงตั้งแต่ 14 – 20 นิ้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอายุของเด็ก และควรมีโต๊ะเก้าอี้ใหญ่สำหรับครูด้วย นอกจากนี้ควรมีม้านั่ง พรม เสื่อ เก้าอี้โยกย้ายเอาไว้มุมบ้าน ทั้งนี้มีบรรยากาศคล้ายบ้าน วัสดุที่ใช้ควรมีสีสันต่างๆ
- เวทีเล็กๆสำหรับให้เด็กแสดงละครหรือบทบาทสมมติ ควรมีขนาดกว้าง 3 ฟุต 6 นิ้ว ยาว 5 ฟุต และสูง 1 ฟุต จากพื้น ทั้งนี้เพื่อสะดวกต่อการทำความสะอาด
- นาฬิกา ควรมีติดเอาไว้บนผนัง โดยมีเข็มสีดำบนหน้าปัด

จากการที่ผู้ศึกษาได้สังเกตสภาพแวดล้อมในห้องเรียน พบว่า จะมีหน้าต่างที่อยู่ในระดับสายตาของเด็ก พื้นห้องจะปูด้วยกระเบื้องสีขาว มีมุม 7 มุมอยู่ด้านข้างห้อง ส่วนพื้นที่ตรงกลางของห้องจัดไว้ให้เด็กทำกิจกรรม มีกระดานดำอยู่หน้าชั้นเรียนซึ่งอยู่ในระดับสายตาเด็ก มีโต๊ะเก้าอี้ขนาดเล็กสำหรับครู ไม่มีโต๊ะเก้าอี้สำหรับนักเรียน ส่วนมากเด็กจะทำกิจกรรมกับพื้นห้องเรียน มีที่แขวนผลงานเด็ก กล่องใส่ผลงานของเด็กซึ่งกล่องใส่ผลงานนี้เด็กสามารถเก็บได้ด้วยตนเอง มีราวที่แขวนชุดนอนของเด็ก นอกจากนี้ยังมีชั้นวางของขนาดใหญ่ซึ่งอยู่หลังห้องเรียน มีทั้งหมด 4 ชั้น ซึ่งชั้นแรกเอาไว้เก็บที่นอนของเด็กเป็นประตูบานเลื่อนเปิดปิดง่าย ชั้นที่ 2 วางแฟ้มสะสมผลงานสำหรับเด็ก ชั้นที่ สำหรับวางกระเป๋าและสื่อ โทรทัศน์ วิทยุ เครื่องเล่น CD และชั้นบนสุดชั้นที่ 4 เอาไว้วางกล่องสื่อซึ่งแยกประเภทหน่วยการเรียนต่างๆ เก็บกระดาษ และอุปกรณ์ต่างๆ ภายในห้องยังมีถังขยะ ไม้กวาด ที่ตักผง ที่บริเวณมุมด้านหลังห้องเรียน รางวางแก้วน้ำแลแปรงสีฟันของเด็ก จะอยู่ด้านหน้าห้องเรียน ประตูห้องเรียนด้านหน้าชั้นเรียนและหลังชั้นเรียนเป็นประตูกระจกซึ่งเด็กจะเปิดเข้าออกยากและยังอาจก่อให้เกิดอันตรายกับเด็ก

1.3 ความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน
จากการที่ผู้สังเกตได้ไปสังเกตความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนอนุบาล พบว่า พื้นห้องเรียนปูด้วยกระเบื้องไม่ได้ปูด้วยแผ่นยาง เนื่องจากในห้องเรียนเป็นพื้นกระเบื้องไม่เหมาะที่จะให้เด็กวิ่งเล่นภายในห้องเรียน เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อเด็กได้ ในขณะเด็กทำกิจกรรม ประตูเปิดยากเพราะเป็นประตูกระจก ดังนั้นต้องให้ครูเป็นผู้เปิดให้เด็ก เฟอร์นิเจอร์ต่างๆไม่แหลมคม ปลั๊กไฟอยู่สูงพ้นมือเด็ก ผงซักฟอกและสารเคมีต่างๆอยู่พ้นมือเด็ก สภาพห้องเรียนมีความสะอาด ครูประจำชั้นทำความสะอาดทั้งตอนเช้าก่อนเด็กมาโรงเรียนและตอนเย็นหลังเด็กเลิกเรียนกลับบ้าน บริเวณห้องเรียนมีแสงสว่างเพียงพอ ห้องเรียนทุกห้องติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เด็กจะไดเรียนหรือทำกิจกรรมในห้องเรียนปรับอากาศทุกทัน ซึ่งอาจทำให้เด็กได้รับเชื้อโรคง่ายหรือแพร่กระจายเชื้อโรคสู่ผู้อื่นง่าย




2. สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน
2.1 การจัดบริเวณและเนื้อที่
สมร ทองดี (2547:91) กล่าวว่า สภาพแวดล้อมที่เป็นสถานที่ สถานศึกษาปฐมวัยควรมีลักษณะดังนี้
2.1.1. ที่ตั้งโรงเรียน
2..1.1.1 ที่ตั้งของโรงเรียนต้องไม่ไกลจากชุมชนมากเกินไป การไปมาสะดวก
2.1.1.2 มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ไม่อยู่ใกล้แหล่งเสื่อมโทรม ไม่มีเสียง ไม่มีกลิ่น หรือควันรบกวน ทั้งอยู่ ไกลจากแหล่งอันตรายต่าง ๆ
2.1.1.3 สภาพพื้นที่เหมาะสมสำหรับทำการก่อสร้างโรงเรียน ที่ดินจะต้องไม่มีหลุมบ่อหรือเอียงลาดชันมาก จนทำการก่อสร้างยาก ชนิดของดินจะต้องมีคุณสมบัติดูดซึมและระบายน้ำได้ดี น้ำไม่ท่วมปลูกต้นไม้ง่าย


2.1.1.4 ควรมีสายเมนไฟฟ้า ประปา และท่อระบายน้ำผ่านใกล้เคียง


2.1.2. บริเวณ
2.1.2.1 โรงเรียนอนุบาลควรมีเนื้อที่กว้างพอสมควร โดยยึดหลักนักเรียน 1 คน ต่อเนื้อที่ 10 ตารางเมตร
2.1.2.2 โรงเรียนอนุบาลควรมีเนื้อที่ไม่ต่ำกว่า 8 ไร่
2.1.2.3 เด็กวัยนี้ไม่ชอบอยู่นิ่ง ชอบเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา โรงเรียนจึงควรมีสนามสำหรับไห้เด็กวิ่งเล่น และจัดกิจกรรมของโรงเรียน โดยถือเกณฑ์เฉลี่ยนักเรียน 1 คน ต่อเนื้อที่สนาม 1 ตารางเมตร พื้นที่สนามราบเรียบไม่เป็นหลุมเป็นบ่อ ปราศจากสิ่งอันก่อให้เกิดอันตรายแก่เด็ก
2.1.2.4 บริเวณโรงเรียนอนุบาลควรจัดตกแต่งให้มีลักษณะร่มรื่น สวยงามมีดอกไม้ประดับและไม้ที่ให้ร่มเงา บริเวณนี้มิได้เป็นสนามซึ่งสูงต่ำตามลักษณะธรรมชาติอยู่แล้ว ควรปรับพื้นผิวให้ราบเรียบแต่ปล่อยสูงต่ำและเนินธรรมชาติไว้ ควรจะมุ่งสำหรับนั่งเล่น หรือพักผ่อนบรรยากาศในโรงเรียนควรมีลักษณะคล้ายบ้าน
2.1.3. สนาม โรงเรียนอนุบาล ควรมีเนื้อที่ไม่น้อยกว่า 3 ไร่ การจัดสนามควรแบ่งเนื้อที่ออกเป็น 3 ส่วน คือ
2.1.3.1 บริเวณที่มีการปูพื้น เช่น ปูแผ่นคอนกรีต ปูอิฐ ฯลฯ ควรมีเนื้อที่ประมาณ 200 ตรารางวา
2.1.3.2 บริเวณที่ติดตั้งอุปกรณ์ของเด็ก ควรมีเนื้อที่ประมาณ 200 ตรารางวา
2.1.3.3 บริเวณที่เป็นสนามหญ้า สำหรับเด็กเล่น และจัดกิจกรรมกลางแจ้งควรมีเนื้อที่ไม่น้อยกว่า 2 ไร่
2.1.3.4 บริเวณโรงเรียนมีความสะอาดเรียบร้อยมีทางระบายน้ำทิ้งและกำจัดขยะ
2.1.3.5 เด็กอนุบาลเป็นเด็กเล็ก ต้องมีการควบคุมดูแลโดยใกล้ชิด ดังนั้นโรงเรียนอนุบาลจึงควรมีรั้วกั้นเป็นขอบเขตแน่นอน เพื่อความสะดวกในดารดูแลเด็ดและทรัพย์สินของโรงเรียน

จากการที่ผู้ศึกษาได้ไปศึกษาสังเกตการจัดบริเวณและเนื้อที่ในโรงเรียนสาธิตนั้น ที่ตั้งโรงเรียนไม่ไกลจากชุมชน เดินทางไปมาสะดวก ไม่อยู่ใกล้แหล่งเสื่อมโทรม ไม่มีเสียงรบกวน แต่มีเนื้อที่ค่อนข้างแคบเพราะมีขนาดจำกัด ทางโรงเรียนมีอาคารทั้งหมด 4 อาคาร โดยอาคารด้านหลังสุดนั้นจะเป็นอาคารของชั้นอนุบาล มีทั้งหมด 7 ห้องบริเวณของแต่ละห้องเป็นพื้นคอนกรีตหน้าห้องแต่ละห้องจะมี ที่แขวนแก้ว แปรงสีฟัน ผ้าเช็ดมือ อ่างล้างมือ โต๊ะรับประทานอาหาร แท้งน้ำ และชั้นวางร้องเท้า โต๊ะรับประทานอาหารจะใช้ร่วมกันทั้งอนุบาลและประถม ส่วนสนามเด็กเล่นจะอยู่ติดกับห้องอนุบาล 3 มีเครื่องเล่นสนามขนาดใหญ่ มีต้นไม้ใหญ่ที่คอยให้ร่มเงาหนึ่งต้น และบริเวณด้านหน้าของโรงเรียนก็จะเป็นเนื้อที่ในการเข้าแถวเคารพธง
มีพื้นที่ที่เป็นสนามเอาไว้ให้เด็กทำกิจกรรม บริเวณสนามจะไม่ค่อยดีเพราะสนามนี้จะใช้ทั้งอนุบาลและประถม เพราะมีเนื้อที่จำกัด สนามที่ให้เด็กเล่นนั้นก็จะมีต้นไม้ที่คอยให้ร่มเงา สนามก็เป็นพื้นคอนกรีต ไม่มีพื้นหญ้า เมื่อเด็กวิ่งเล่นก็จะได้รับบาดเจ็บ นอกจากนี้ในแต่ละจุดจะมีถังขยะเอาไว้ให้เด็กทิ้งขยะเพื่อความสะอาดของโรงเรียน

2.2 การตกแต่งบริเวณและเนื้อที่
จากการสังเกตได้สังเกตการตกแต่งบริเวณและเนื้อที่ของโรงเรียน พบว่า ภายในโรงเรียนไม่ค่อยมีต้นไม้ ไม่มีการจัดสวนหย่อม ส่วนบริเวณหน้าห้องเรียนจะมีบอร์ดจัดแสดงผลงานของเด็กและให้ความรู้ในเรื่องต่างๆเช่น วันปีใหม่ วันคริสมาสร์ และวันสำคัญต่างๆ มีต้นไม้ใหญ่หนึ่งต้นที่คอยให้ร่มเงาและมีถังขยะวางไว้เป็นจุดๆ


2.3 สนามเด็กเล่น
เยาวภา เดชะคุปต์ (2542:26) กล่าวถึง การจัดสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนว่า
การเล่นกลางแจ้ง (Outdoor Play)
การเล่นนอกห้องเรียน หรือการเล่นกลางแจ้งช่วยให้เด็กพัฒนาร่างกาย เป็นคนแข็งแรง มีสุขภาพที่ว่องไว และมีจินตนาการดี บรรยากาศนอกห้องเรียนจะให้โอกาสเด็กได้ทำกิจกรรมที่พัฒนาด้านและร่างกาย การสำรวจ การค้นพบ และการเกิดการเรียนรู้ การทำ กิจกรรมนอกห้องเรียนอาจไม่ใช่การวิ่ง การปีนป่าน เครื่องเล่นสนามเท่านั้น แต่ครูอาจจะให้เด็กวาดภาพ ปั้นดินเหนียว หรือทำกิจกรรมอื่น ๆ กล่องและลังกระดาษเป็นอุปกรณ์ง่าย ๆ ที่สามารถจัดไว้นอกห้องเพื่อโอกาสเด็กได้สร้างจินตนาการ หรือสร้างสรรค์ดินแดนที่เขาคิดขึ้นในจินตนาได้เอง
เนื้อที่กลางแจ้ง เนื้อที่กลางแจ้งและอุปกรณ์ควรจัดให้แก่เด็กควรเปิดโอกาสให้เด็กได้เกิดประสบการณ์หลากหลาย ถ้าห้องเรียนกับสนามเด็กเล่นอยู่ติดกับอุปกรณ์ที่จัดไว้แก่เด็กเล่นได้ทั้งในห้องและนอกห้องเรียน บริเวณสนามเด็กเล่น ควรมีขนาด 7.5 ถึง 100 ตารางฟุตต่อเด็ก 1 คน เป็นอย่างน้อย ถ้าเด็กหลายกลุ่มมาใช้สนามเด็กเล่น และมีเนื้อที่จำกัด ควรจัดตารางเวลาให้เด็กแต่ละกลุ่มหมุนเวียนกันมาเล่น สนามเด็กเล่นควรติดอยู่กับห้องนั่งเล่นและควรอยู่ชิดมุมใดมุมหนึ่งของอาคารเพื่อให้ครูสามารถดูแลได้ทั่วถึง บริเวณสนามเด็กเล่นได้หลายอย่าง สามารถทำความสะอาดได้ง่าย สามารถฉีดน้ำและแห้งได้รวดเร็ว และปลอดภัยจากไฟไหม้พื้นผิวของสนามไม่ควรใช้พื้นแข็งเพราะถ้าเด็กหกล้มบาดเจ็บได้ สนามเล่นดังกล่าวควรมีร่มเงา โดยปลูกต้นไม้เพื่อคลุมร่มเงา แสงสว่าง และเสียง
สนามเด็กเล่นควรมีความเป็นสัดส่วน โดยควรมีกำแพงหรือฉากกั้นเพื่อให้เกิดความรู้สึกปลอดภัย และครูควรดูแลอย่างใกล้ชิดขณะที่เด็กเล่น แต่ไม่ควรรบกวนขณะที่เด็กเล่นอย่างอิสระ และควรมีกำลังลมและแดดเอาไว้บ้าง บางส่วนมีมุมที่เด็กจะเล่นได้ทั้งคนเดียวและเล่นเป็นกลุ่มโดยไม่ห่างสายตาครูนัก ที่สนามเด็กเล่น ควรปลูกต้นไม้ประดับที่ช่วยทำให้สนามสดชื่น แต่ควรจัดเอาไว้ในบริเวณที่เด็กจะไม่เหยียบย่ำ การจัดบริเวณให้เหมาะสมช่วยลดความร้อนจากอุณหภูมิลงได้
ผิวสนามเด็กเล่นที่ดีที่สุดควรเป็นพื้นหญ้า บางส่วนของสนามควรมีบริเวณที่เป็นเนินเพื่อให้เด็กได้เล่นลื่นไถล และทั้งบริเวณควรจะให้น้ำซึมผ่านได้ดี บางส่วนของสนามควรเป็นพื้นแข็งสำหรับให้เด็กเล่นถีบจักยาน และไม่ควรมีก้อนอิฐ ก้อนหิน หรือเศษแก้ว บริเวณบ่อทรายหรือบริเวณที่จะให้เด็กขุดดินควรจะปลอดภัยจากสัตว์ร้ายต่าง ๆ และควรปิดเมื่อไม่ใช้ บ่อทรายที่ก่อสร้างด้วยคอนกรีตจะใช้ได้ง่ายและราคาถูกกว่าถ้าต้องการใช้นาน ๆ สนามเด็กเล่นควรมีรั้วขนาดสูงพอประมาณที่เด็กจะปีนป่ายซึ่งไม่ได้กั้นเอาไว้เพื่อความปลอดภัยบริเวณที่เป็นสนามเด็กเล่น ควรอยู่ทางทิศใต้ของอาคาร เพราะจะได้มีแสงสว่างตลอดเวลา
จากการที่ผู้สังเกตได้สังเกตสนามเด็กเล่นของโรงเรียน พบว่า เป็นพื้นปูนมีพื้นที่น้อยไม่เหมาะที่จะให้เด็กวิ่งเล่นเพราะอาจจะหกล้มบาดเจ็บได้ มีเครื่องเล่นอยู่ 5 ชนิด คือ บ้านไม้ 5-6 หลังกระดานไม้ลื่น เอาไว้ให้เด็กเล่นแต่ก็มีเด็กประถมมาเล่นด้วย สนามเด็กเล่นจะติดอยู่บริเวณหน้าโรงเรียน บริเวณสนามเด็กล่นจะมีบ่อทรายแต่บ่อทรายไม่สะอาดมีเศษกระดาษและขยะ ตรงบ่อทรายมีต้นไม้คลุมให้ร่มเงา มีแสงสว่างเหมาะสม


2.4 เครื่องเล่นสนาม
เยาวภา เดชะคุปต์ (2542:30) กล่าวถึง อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการเล่นกลางแจ้ง การเลือกอุปกรณ์ต่าง ๆ ควรขึ้นกับวุฒิภาวะของเด็กแต่ละระดับเป็นเกณฑ์ที่มีวุฒิภาวะเขาจะสามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ที่คล้ายคลึงกันแทนกันได้ในกิจกรรมต่าง ๆ แต่เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี ครูควรจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใหม่และง่ายจนเกินไป ซึ่งบางครั้งเด็กมักจะใช้เครื่องเล่นที่แตกต่างไปจากผู้ออกแบบคิดไว้ เด็กเล็ก ๆ จะชอบใช้อุปกรณ์ซึ่งใช้แล้วใช้เล่า ดังนั้น อุปกรณ์ที่จัดให้เด็กเล็กจึงควรมีความง่าย เล่นได้หลายอย่าง และก่อให้เกิดการสร้างจินตนาการได้สูง
เครื่องเล่นสนามเป็นสิ่งที่ควรตั้งไว้ขอบ ๆ สนามเพื่อให้ง่ายต่อการดูแล และเครื่องเล่นแต่ละชิ้น ควรจัดไว้ให้ห่างกันเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น เครื่องเล่นแต่ละชิ้นควรสร้างและติดตั้งอย่างระมัดระวังและมีการบำรุงรักษาเป็นอย่างดี เครื่องเล่นที่ให้เด็กปีนป่ายหรือแกว่งไกวควรใส่ทรายหรือขี้เลื่อยเอาไว้ข้างล่าง เพื่อป้องกันการเจ็บตัวเมื่อเด็กตกลงมา
จากการที่ผู้สังเกตได้สังเกตเครื่องเล่นสนามของโรงเรียนพบว่า เครื่องเล่นสนามของเรียนเป็นเครื่องเล่นสนามที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้ครบทุกด้าน อีกทั้งยังมีความปลอดภัยเนื่องจากทำจากวัสดุที่มีความยืดหยุ่น คือพลาสติกหนา มีขอบกั้นกันการล้นจากเครื่องเล่น พื้นเครื่องเล่นสนามปูด้ายพื้นที่ยางที่มีความนิ่มกันการบาดเจ็บของเด็ก สีของเครื่องเล่นสนามเป็นสีสันที่สดใส ดึงดูดความสนใจของเด็ก อีกทั้งยังให้เด็กได้เรียนรู้ในเรื่อง สี ขนาด รูปทรง รูปร่าง การลื่นไหล แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นต้น

2.5 ความปลอดภัยของสภาพภายนอกอาคาร
จากการที่ผู้ศึกษาได้สังเกตความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน พบว่า บริเวณเครื่องเล่นสนามขนาดใหญ่ เครื่องเล่นสนามทำจากวัสดุที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก พื้นบริเวณเครื่องเล่นสนามปูด้วยอิฐยางป้องกันอุบัติเหตุขณะเล่น มีต้นไม้ขนาดใหญ่ให้ร่มเงา แดดไม่ส่องผ่านมากจนเกินไป และเครื่องเล่นสนามใช้เล่นทั้งเด็กอนุบาลและเด็กประถม บริเวณหน้าห้องเรียนเป็นพื้นปูน บริเวณทางเดินแคบ ส่วนบริเวณสนามด้านหน้าโรงเรียนมีความกว้างเพียงพอที่จะให้เด็กทำกิจกรรมได้ ในช่วงเวลาบ่ายโมงจะมีรถรับส่งนักเรียนมาจอดรับเด็กนักเรียน ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายกับเด็กขณะรถวิ่งเข้าออก



บทที่ 3สรุปผลการศึกษาสังเกตการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียน
ในสถานฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู
การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการสังเกตหรือการเลียนแบบที่จะกระตุ้นให้เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นตามมาของพฤติกรรม ซึ่งจะเป็นกระบวนการทางปัญญาของผู้เรียน เช่น การเรียนรู้พฤติกรรมที่เสริมสร้างสังคม ดังนั้นการมีตัวแบบที่ดีจะมีผลต่ออิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองของเด็ก นอกจากกระบวนการทางปัญญาของเด็กก็เป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ดังที่เพียเจท์ กล่าวว่า อัตราการพัฒนาการในตัวเด็ก แต่ละคนจะแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมที่ได้รับและสิ่งแวดล้อมยังมีอิทธิพลต่อกระบวนการคิดของเด็ก เพราะเด็กจะเกิดการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว โดยอาศัยกระบวนการทำงานของโครงสร้างทางปัญญา (อุษา สังข์น้อย.2531 : 11 อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์.2547:125)

การจัดสภาพแวดล้อมที่ดีที่เหมาะกับเด็กปฐมวัยนั้นจะช่วยส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของเด็กตามแนวคิดของนักจิตวิทยา เช่น เฟรอเบล มอนเตสซอรี่ และเพียเจท์ ซึ่งให้ความเห็นตรงกันว่า เด็กเล็กๆ นั้นจะเรียนรู้โดยลงมือกระทำในสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนและกระตุ้นการตอบสนองของเด็กในโรงเรียนอนุบาล จึงมีการจัดสภาพแวดล้อมในลักษณะดังกล่าวทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยมีการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักจิตวิทยาพัฒนาการและทฤษฎีการเรียนรู้ของเด็ก มีการจัดสื่อที่เหมาะสมเพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้และได้รับประสบการณ์ตรง ส่วนทางด้านเนื้อหาจะจัดรวมกันในลักษณะบูรณาการเป็นหน่วยการสอน และจัดให้เด็กเรียนรู้ในรูปของกิจกรรมที่เปิดกว้าง เพื่อให้เด็กแต่ละคนได้เลือกทำตามความสนใจและความสามารถ โดยกำหนดประสบการณ์ดังกล่าวลงในตารางกิจกรรมประจำวัน ซึ่งมีการกำหนดระยะเวลาสำหรับการทำ กิจกรรมแต่ละช่วงไม่นานเกินไป และเป็นกิจกรรมหนักเบาสลับกัน ตั้งแต่กิจกรรมในร่มและกลางแจ้ง การจัดสภาพแวดล้อมดังกล่าวจึงเป็นการจัดประสบการณ์เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กให้เด็กได้พัฒนาในทุกๆ ด้าน เพื่อเป็นพื้นฐานของการพัฒนาในวัยต่อไป

จากการสังเกตและจดบันทึกสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนพบว่า การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน มีจำนวนห้องเรียนครบตามจำนวนชั้นที่โรงเรียนจัด พื้นห้องจะปูด้วยกระเบื้องสีขาว จะมีหน้าต่างอยู่ในระดับสายตาของเด็ก เป็นอาคารครึ่งวงกลมดังนั้นทางโรงเรียนจึงต้องใช้เครื่องปรับอากาศ แต่ห้องเรียนหน้าจะได้รับอากาศจากธรรมชาติมากกว่าที่จะได้รับจากเครื่องปรับอากาศ เพราะถ้าเด็กอยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศนานและบ่อย เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายได้ ภายในห้องจะมีมุมประสบการณ์ทั้งหมด 7 มุม เช่น มุมวิทยาศาสตร์ มุมเกมการศึกษา มุมบล็อก มุมดนตรี มุมอ่าน มุมบทบาทสมมุติ และมุมศิลปะสร้างสรรค์ มุมแต่ละมุมสามารถเคลื่อนย้ายได้ ส่วนพื้นที่กลางห้องเป็นพื้นที่โล่ง มีไว้ให้เด็กทำกิจกรรมและเรียนหนังสือ
ส่วนในเรื่องความปลอดภัย ในห้องเรียนพื้นจะเป็นปูนไม่เหมาะที่จะให้เด็กวิ่งเล่น เพราะอาจเกิดอันตรายได้ ในขณะที่เด็กทำกิจกรรมประตูก็เปิดยากเพราะเป็นกระจก ดังนั้นครูจึงต้องเป็นผู้เปิด-ปิดประให้เด็ก เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ ภายในห้องเรียนไม่แหลมคม ที่เสียบปลั๊กไฟอยู่สูงกว่ามือเด็ก ผงซักฟอกหรือสารเคมีอื่นอยู่พ้นมือเด็ก สภาพห้องเรียนมีความสะอาด ครูทำความสะอาดทั้งตอนเช้าและตอนเย็น บริเวณห้องเรียนมีแสงสว่างเพียงพอ บริเวณห้องเรียนอนุบาลห่างจากทางจราจรปลั๊กไฟและสวิทซ์เปิด-ปิดไฟไม่อยู่ในระดับสายตาของเด็ก

จากการสังเกตและจดบันทึกสภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียนพบว่าบริเวณหน้าห้องเรียนจะมีโต๊ะไว้สำหรับรับประทานอาหาร จะเป็นโต๊ะยาวและมีขนาดใหญ่ หน้าห้องแต่จะมีอ่างล้างมือซึ่งมีจำจนวนมากพอสำหรับเด็ก เด็กสามารถทำด้วยตนเองได้เพราะอ่างเหมาะสำหรับเด็ก ซึ่งการที่ให้เด็กได้ทำความสะอาดมือเป็นการส่งเสริมสุขลักษณะที่ถูกต้องกับเด็ก มีห้องน้ำอยู่นอกห้องเรียน อยู่ไกลจากอนุบาล 3 และอนุบาล 2 แต่จะอยู่ใกล้กับอนุบาล 1 จำนวนห้องน้ำมีมากพอสำหรับเด็กส่วนสนามเด็กเล่นจะอยู่ติดกับอนุบาล 3 บริเวณสนามจะมีพื้นที่แคบ และเป็นพื้นปูน มีต้นไม้ใหญ่ที่คอยให้ร่มเงา มีเครื่องเล่นสนามอยู่ 5 ชนิด คือ บ้านไม้จำลอง ชิงช้า กระดานลื่น บ่อทราย อุโมงค์สำหรับเด็กลอด เครื่องเล่นที่มีอยู่จึงใช้ได้ทั้งเด็กประถมและอนุบาล เครื่องเล่นบางอย่างควรมีการซ่อมแซม บ่อทรายไม่สะอาด ดังนั้นบ่อทรายจึงควรได้รับการทำความสะอาดทุกวันเพื่อความสะอาดของเด็ก
การตกแต่งบริเวณและเนื้อที่ เนื่องจากโรงเรียนมีพื้นที่น้อยจึงไม่สามารถตกแต่งบริเวณและเนื้อที่ได้มากนัก แต่หน้าห้องทุกห้องจะมีบอร์ดแสดงผลงานของเด็ก หรือเอาไว้จัดแสดงภาพต่างๆ ตามวันสำคัญ เช่น วันปีใหม่ วันคริสมาส
ส่วนความปลอดภัยภายนอกห้องเรียน ความปลอดภัยบริเวณหน้าห้องเรียนเป็นพื้นปูน บริเวณทางเดินแคบ ส่วนบริเวณสนามกว้างมีที่พอที่จะให้เด็กทำกิจกรรมตั้งแต่ประถมและอนุบาลจะใช้พื้นที่เดียวกันในการทำกิจกรรม เครื่องเล่นแต่ลุชนิดก็เริ่มชำรุดควรที่จะได้รับการปรับปรุง บางครั้งตรงสนจามที่เด็กเล่นก็จะมีรถมาจอด ซึ่งก็อาจจะก่อให้เกิดอันตรายกับเด็กได้ และมีสุนัขเข้ามาภายในโรงเรียน ซึ่งอาจก้อให้เกิดพาหะนำโรคและเด็กอาจจะถูกทำร้ายได้ ดั้งนั้นควรที่จะปิดประตุทุกครั้งที่เข้าออก เพื่อป้องกันการเกิดโรค

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ 4 ปี

การพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย





แผนการจัดประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ 4 ปี (กิจกรรมเสริมประสบการณ์)



1.เด็กสามารถบอกจุดจำนวนของตัวเลขได้

2. เด็กสามารถบอกการเพิ่มลด ของจุดจำนวน

3. เด็กสามารถนำตัวเลขมาสอดให้ตรงกับจุดจำนวน



เนื้อหา

เพิ่ม ลด ภายใน 10 โดยที่เด็กสังเกตและบอกจำนวนของจุดบนแผงจุดจำนวนไม่เกิน 10



กิจกรรม

ความคิดรวบยอด
เด็กรู้จักค่าจำนวน 1 -10ของจุดจำนวน
1. ครูสนทนาทักทายเพื่อสร้างความคุ้นเคยพร้อมทั้ง ร้องเพลง นกกระจิบ

เนื้อเพลง


นั่นนก บินมาลิบๆ นกกระจิบ 12345

อีกฝูงบินบ่องลอยมา 678 910

ครูให้เด็กชูนิ้วขึ้นมานับ


ครู: เด็กๆลองนับสิค่ะว่าถ้ามี 5 6 7 แล้วจะนับเลขอะไรต่อถึงจะครบ 10 ค่ะ


:ค่ะวันนี้ครูก็มีกิจกรรมมาให้เด็กๆได้ทำกันนะค่ะ


2. ครูนำจุดจำนวนมาสนทนาพูดคุยกับเด็กพร้อมทั้งสนทนาถึงจุดจำนวนที่จะมาเพิ่มหรือลดให้เท่ากับ 10


3. เด็กนับจุดจำนวนที่ครูนำมาเพิ่มและลดให้เท่ากับ 10


4. ครูนำตัวเลขมาให้เด็กแล้วให้เด็กนำแผ่นจุดจำนวนมาสอดให้ตรงกับตัวเลข


5.ครูสอดแผ่นจุดจำนวนที่มีจุดจำนวนเท่ากับตัวเลขที่ครูกำหนดให้



สื่อ

แผงจุดจำนวน
ตัวเลข ขวดน้ำ ตะกร้าระเมิน



แบบประเมิน

1.สังเกตเด็กสามารถบอกจุดจำนวนของตัวเลขได้


2. สังเกตเด็กสามารถบอกการเพิ่มลด ของจุดจำนวน


3.สังเกตเด็กสามารถนำตัวเลขมาสอดให้ตรงกับจุดจำนวน



ปรับแผน



ครูควรใช้ภาษาที่เด็กเข้าใจง่ายกว่านี้

ครูควรใช้วิธีการที่หลากหลายในการเลือกเด็กออกมาทำกิจกรรม

ครูควรใช้คำถามปลายเปิดมากกว่านี้

ครูควรมีเครื่องเคาะจังหวะในการร้องเพลง



แครูควรจะมีจังหวะในการพูดไม่ควรรีบ

ครูควรวางแผนในการจัดกิจกรรมให้ดี

ครูกระตุ้นให้เด็กมี่ส่วนร่วมในกิจกรรมให้มากผนการจัดประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ 4 ปี (กิจกรรมกลางเเจ้ง)



จุดประสงค์

1.เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายโดยการวิ่งซิกแซ็กเพื่อให้ไปถึงจุดมุ่งหมายที่ครูกำหนดได้

2. เด็กสามารถใช้มือและตาที่สัมพันธ์กันในระหว่างการหยิบจับและการวางแผ่นโจทย์ของจุดจำนวนและแผ่นเฉลยบนแผงจุดจำนวน


3. เด็กมีความสุกสนุกและตื่นเต้นในการทำกิจกรรมได้

4. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้


5. เด็กสามารถรู้จักค่าของตัวเลข


6. เด็กสามารถหาจำนวนตัวเลขที่หายไปมาเพิ่ม ลดได้


7. เด็กสามารถหาตัวเลขมาใส่ให้ตรงกับจุดจำนวนได้


8. เด็กสามารถรู้จักการแก้ปัญหาได้


9. เด็กสามารถทำความสะอาดร่างกายหลังการทำกิจกรรมได้


10.เด็กสามารถบอกตัวเลขได้


เนื้อหา

พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ในการวิ่งซิกแซ็ก วิ่งสไลด์ กระโดดข้ามขวดน้ำพัฒนาด้านอารมณ์ สังคม โดยการเล่น ร่วมกับเพื่อนเด็กรู้ค่าจำนวนของการเพิ่มลดภายใน 10



กิจกรรม

ครูแนะนำกิจกรรมให้เด็กฟัง
กิจกรรมมี 3 ด่านคือ


ด่านที่ 1

ครูกำหนดตัวเลข เช่น เลข 5 แล้วให้เด็กวิ่งสไลด์ข้างซิกแซ็กนำแผ่นจุดจำนวนมาสอดให้ตรงกับตัวเลข 5 โดยจำนวนไม่เกิน 10


ด่านที่ 2

เด็กกระโดดข้ามขวดน้ำแล้วสอดแผ่นจุดจำนวนเพิ่มให้ครบ 10 โดยที่จุดจะไม่ซ้อนกัน
ด่านที่ 3

เด็กวิ่งซิกแซ็กนำตัวเลขไปติดให้ตรงกับจำนวนที่เพิ่มในแต่ละช่องให้ถูก
ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลง

3. เด็กเล่นเกมด้วยตนเอง


4. ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดและเตือนโกก่อนหมดเวลา

5. ครูและเด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่น



สื่อ

สนาม
ตัวเลข
ตะกร้า
ขวดน้ำแผงจุดจำนวน



ประเมิน



1.สังเกตเด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายโดยการวิ่งซิกแซ็กเพื่อให้ไปถึงจุดมุ่งหมายที่ครูกำหนดได้

2. สังเกตเด็กสามารถใช้มือและตาที่สัมพันธ์กันในระหว่างการหยิบจับและการวางแผ่นโจทย์ของจุดจำนวนและแผ่นเฉลยบนแผงจุดจำนวน


3. สังเกตเด็กมีความสุกสนุกและตื่นเต้นในการทำกิจกรรมได้



4. สังเกตเด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้


5.สังเกต เด็กสามารถรู้จักค่าของตัวเลข


6. เด็กสามารถหาจำนวนตัวเลขที่หายไปมาเพิ่ม ลดได้


7.สังเกต เด็กสามารถหาตัวเลขมาใส่ให้ตรงกับจุดจำนวนได้


8. สังเกตเด็กสามารถรู้จักการแก้ปัญหาได้


9.สังเกต เด็กสามารถทำความสะอาดร่างกายหลังการทำกิจกรรมได้


10.สังเกตเด็กสามารถบอกตัวเลขได้



ปรับแผน

ครูควรอธิบายกิจกรรมไม่ให้นานเกินไป

ครูควรมีการเตรียมความพร้อมกับสื่อที่นำมาให้เด็กทำกิจกรรมมากกว่านี้

ครูควรสังเกตเด็กให้ทั่งถึง

ครูควรกระตุ้นให้เด็กทำตามข้อตกลงที่วางไว้


ครูควรกระตุ้นให้เด็กอยากเรียนรู้

ครูสังเกตพฤติกรรมเด็กของแต่ละคน


ครูควรกระตุ้นให้เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง

ครูควรนำสื่อที่เป็นแผ่นใสให้มีความแข็งแรงมากกว่านี้





กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ความคิดรวบยอด
เด็กรู้จักจำนวน 1- 10 รู้จักตัวเลขที่ตรงกับจำนนวน และการเพิ่ม ลดภายใน 10และสังเกตจำนวนบนแผงจุดจำนวนไม่เกิน 10

จุดประสงค์


1. เด็กสามารถบอกจุดจำนวนและตัวเลขได้


2. เด็กสามารถบอกการเพิ่มหรือลดของจุดจำนวนได้


3. เด็กสามารถนำตัวเลขมาสอดให้ตรงกับจุดจำนวนได้
เนื้อหา


เพิ่ม ลด ภายใน 10 โดยที่เด็กสังเกตและบอกจำนวนของจุดบนแผงจุดจำนวนไม่เกิน 10

กิจกรรม


1.ครูสนทนาทักทายกับเด็กเพื่อสร้างความคุ้นเคยพร้อมทั้งร้องเพลงนกกระจิบ ครูร้องเพลงให้เด็กฟัง 1 รอบ แล้วให้เด็กช่วยกันร้อง ครูให้เด็กๆชูนิ้วมือขึ้นมานับ 12345 678910 ตามเนื้อเพลงที่เด็กร้อง


ครู: เด็กๆค่ะเด็กลองชูมือขึ้นแล้วนับดูซิค่ะว่ามีกี่นิ้ว


: แล้วนกในเนื้อเพลงที่เด็กๆร้องมีกี่ตัวค่ะ


: ไหนลองชูนิ้วมือขึ้นมาแล้วนับสิค่ะ


: วันนี้ครูก็มีกิจกรรมมาให้เด็กๆได้ทำเด็กๆอยากทำแล้วหรือยังค่ะ


2. ครูนำจุดจำนวนมาสนทนากับเด็กพร้อมทั้งสนทนาถึงจุดจำนวนที่จะนำมาเพิ่มหรือลดให้เท่า กับ 10


3. เด็กนับจุดจำนวนที่ครุนำมาเพิ่มและลดให้เท่ากับ 10


4. ครูกำหนดตัวเลขให้กับเด็กแล้วให้เด็กนำแผ่นจุดจำนวนมาสอดในแผงจุดจำนวนโดยให้ตรงกับตัวเลขที่กำหนด


5. ครูสอดแผ่นโจทย์ที่มีจุดจำนนวนเมื่อมีจุดซ้อนกันก็ให้โกนับจุดแล้วบอกจำนวนตัวเลขโดยไม่เกิน 10





กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์


1. เด็กสามารเคลื่อนไหวร่างกายโดยการวิ่งซิกแซ็กเพื่อให้ให้ไปถึงเป้าหมายที่ครูกำหนดได้


2. เด็กสามารถใช้มือและตามสัมพันธ์กันในระหว่างการหยิบจับและการวางแผ่นโจทย์ของจุดจำนวนและแผ่นเฉลยบนแผงจุดจำนวน


3. เด็กมีความสนุกและตื่นเต้นในการทำกิจกรรมได้


4. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้

เนื้อหา
พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ในการวิ่งซิกแซ็ก, กระโดดข้ามขวดน้ำพัฒนาอารมณ์และสังคมโดยการเล่นร่วมกับเพื่อนเด็ก รู้ค่าจำนวนของการเพิ่มลดภายใน 10

กิจกรรม


1. ครูแนะนำกิจกรรมให้เด็กฟัง
กิจกรรมมี 3 ด่าน
ด่านที่ 1
ครูกำหนดตัวเลข เช่น เลข 5 แล้วให้เด็กสังเกตจำนวนในแผ่นที่ครูแจกให้กับเด็กแล้วให้เด็กนับจำวนวนที่ตรงกับตัวเลขที่ครูกำหนดให้แล้วเด็กนำแผ่นของตนไปสอดให้ตรงกับตัวเลข 5 โดยที่ไม่เกิน 10

ด่านที่ 2
เด็กกระโดดผ่านขวดน้ำแล้วสอดแผ่นจุดจำนวนในแผงจุดจำนวนรวมกันให้เท่ากับ 10

ด่านที่ 3
เด็กวิ่งซิกแซ็กนำตัวเลขมาวางเพิ่มกับตัวเลขเดิมโดยไม่เกิน 10


2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงร่วมกัน


3. เด็กเล่นเกมด้วยตนเอง


4. ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดและตักเตือนก่อนหมดเวลา


5. ครูและเด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่น



สื่อ
- สนาม
- แผงจุดจำนวน
- ตัวเลข
- ขวดน้ำ
- แผ่นจุดจำนวน

ประเมิน


1 สังเกตเด็กสามารเคลื่อนไหวร่างกายโดยการวิ่งซิกแซ็กเพื่อให้ให้ไปถึงเป้าหมายที่ครูกำหนดได้


2 สังเกตเด็กสามารถใช้มือและตามสัมพันธ์กันในระหว่างการหยิบจับและการวางแผ่นโจทย์ของจุดจำนวนและแผ่นเฉลยบนแผงจุดจำนวน


3 สังเกตเด็กมีความสนุกและตื่นเต้นในการทำกิจกรรมได้


4 สังเกตเด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้

ปรับแผน

กิจกรรมที่ 2 สุดสนุกกับ 10 จำนวน
จำนวนผู้เล่น 20 คน
วิธีการเล่น


1. แบ่งผู้เล่นออกเป็น 4 กลุ่ม


2. ให้เด็กวิ่งกระโดดข้ามขวดน้ำโดยให้ครูแจกแผ่นจุดจำนวนแล้วให้เด็กนับจุดแล้วสอดแผ่นจุดจำนวนในแผงจุดจำนวนรวมกันให้เท่ากับ 10


3. โดยที่เด็กแข่งกับเพื่อนอีกกลุ่ม


4. กลุ่มไหนเสร็จก่อนกลุ่มนั้นเป็นฝ่ายชนะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กได้ใช้ประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือและตาและรู้จักการเพิ่มจุดจำนวนให้เท่ากับ 10
ระยะเวลาที่ใช้ 30 นาที



กิจกรรมที่ 3 จำนวนที่ใกล้ตัว

วิธีการเล่น


1. แบ่งเด็กออกเป็น 4 กลุ่ม


2. เด็กวิ่งซิกแซ็กนำตัวเลขไปใส่ไว้ให้ตรงกับจำนวนของจุดเพื่อเพิ่มให้เท่ากับ 10


3. เด็กเล่นเกมด้วยตนเอง


4. ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด


5. ครูและเด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่น


ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กได้ทักษะในการพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ในการวิ่งซิกแซ็ก

กิจกรรมที่ 4

คู่ขาหรรษานับตัวเลข


1. เด็กๆเลือกคู่ของตนภายในกลุ่ม


2. เด็กเอาเชือกหนังยางรัดเอวกับคู่ของตน


3. เด็กเคลื่อนไหวซิกแซ็กเป็นทางรถไฟด้วยกัน


4. เด็กๆใช้อวัยวะหยิบแผ่นจุจำนวน


5. วิ่งกลับมาในกลุ่ม โดยให้คู่ที่อยู่ในกลุ่มวิ่งซิกแซ็กแล้วใช้อวัยวะหยิบตัวติดกับแผงจุดจำนวนจากนั้นคู่ที่เหลือก็นำจุดไปเพิ่มให้เท่ากับ 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กได้ใช้อวัยวะและมีความสามัคคีกับเพื่อนพร้อมทั้งรู้จักจำนวนที่ต้องเพิ่มให้เท่ากับ 10
ระยะเวลา 30 น.

กิจกรรมที่ 5

พาฉันไปที
1. ครูกำหนดตัวเลขให้กับเด็กๆแต่ละคนในกลุ่ม


2. เด็กสังเกตตัวเลขที่เพื่อนได้


3. เด็กเลือกเพื่อนที่มีตัวเลขรวมกันเท่ากับ 10 มา รวมกันโดยที่ให้เพื่อนออกมายืนข้างหน้า


4.เด็กเวียนกันเล่นเกมจนครบทุกคน


5.ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด


6.ครูและเด็กช่วยกันเก็บ


ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กรู้จักตัวเลขและจำนวนที่ให้ได้ เท่ากับ 10 พร้อมเด็กได้สังเกตเพื่อนๆในกลุ่มว่ามีใครได้เลขอะไร

ระยะเวลาที่ใช้ 30 น.



กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ความคิดรวบยอด


เด็กรู้จักจำนวน 1- 10 รู้จักตัวเลขที่ตรงกับจำนนวน และการเพิ่ม ลดภายใน 10และสังเกตจำนวนบนแผงจุดจำนวนไม่เกิน 10

จุดประสงค์


1. เด็กสามารถบอกจุดจำนวนและตัวเลขได้


2. เด็กสามารถบอกการเพิ่มหรือลดของจุดจำนวนได้


3. เด็กสามารถนำตัวเลขมาสอดให้ตรงกับจุดจำนวนได้
เนื้อหา
เพิ่ม ลด ภายใน 10 โดยที่เด็กสังเกตและบอกจำนวนของจุดบนแผงจุดจำนวนไม่เกิน 10

กิจกรรม


1.ครูสนทนาทักทายกับเด็กเพื่อสร้างความคุ้นเคยพร้อมทั้งร้องเพลงนกกระจิบ ครูร้องเพลงให้

เด็กฟัง 1 รอบ แล้วให้เด็กช่วยกันร้อง ครูให้เด็กๆชูนิ้วมือขึ้นมานับ 12345 678910 ตามเนื้อ

เพลงที่เด็กร้อง
ครู: เด็กๆค่ะเด็กลองชูมือขึ้นแล้วนับดูซิค่ะว่ามีกี่นิ้ว


: แล้วนกในเนื้อเพลงที่เด็กๆร้องมีกี่ตัวค่ะ


: ไหนลองชูนิ้วมือขึ้นมาแล้วนับสิค่ะ


: วันนี้ครูก็มีกิจกรรมมาให้เด็กๆได้ทำเด็กๆอยากทำแล้วหรือยังค่ะ


2. ครูนำจุดจำนวนมาสนทนากับเด็กพร้อมทั้งสนทนาถึงจุดจำนวนที่จะนำมาเพิ่มหรือลดให้เท่ากับ 10


3. เด็กนับจุดจำนวนที่ครุนำมาเพิ่มและลดให้เท่ากับ 10


4. ครูกำหนดตัวเลขให้กับเด็กแล้วให้เด็กนำแผ่นจุดจำนวนมาสอดในแผงจุดจำนวนโดยให้ตรงกับตัวเลขที่กำหนด


5. ครูสอดแผ่นโจทย์ที่มีจุดจำนนวนเมื่อมีจุดซ้อนกันก็ให้โกนับจุดแล้วบอกจำนวนตัวเลขโดยไม่เกิน 10

กิจกรรมกลางแจ้ง

จุดประสงค์
1. เด็กสามารเคลื่อนไหวร่างกายโดยการวิ่งซิกแซ็กเพื่อให้ให้ไปถึงเป้าหมายที่ครูกำหนดได้


2. เด็กสามารถใช้มือและตามสัมพันธ์กันในระหว่างการหยิบจับและการวางแผ่นโจทย์ของจุดจำนวนและแผ่นเฉลยบนแผงจุดจำนวน


3. เด็กมีความสนุกและตื่นเต้นในการทำกิจกรรมได้


4. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้

เนื้อหา


พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ในการวิ่งซิกแซ็ก, กระโดดข้ามขวดน้ำพัฒนาอารมณ์และสังคมโดยการเล่นร่วมกับเพื่อนเด็ก รู้ค่าจำนวนของการเพิ่มลดภายใน 10

กิจกรรม


1. ครูแนะนำกิจกรรมให้เด็กฟัง
กิจกรรมมี 3 ด่าน

ด่านที่ 1
ครูกำหนดตัวเลข เช่น เลข 5 แล้วให้เด็กสังเกตจำนวนในแผ่นที่ครูแจกให้กับเด็กแล้วให้เด็กนับ

จำวนวนที่ตรงกับตัวเลขที่ครูกำหนดให้แล้วเด็กนำแผ่นของตนไปสอดให้ตรงกับตัวเลข 5 โดยที่ไม่เกิน 10

ด่านที่ 2
เด็กกระโดดผ่านขวดน้ำแล้วสอดแผ่นจุดจำนวนในแผงจุดจำนวนรวมกันให้เท่ากับ 10

ด่านที่ 3
เด็กวิ่งซิกแซ็กนำตัวเลขมาวางเพิ่มกับตัวเลขเดิมโดยไม่เกิน 10

2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงร่วมกัน

3. เด็กเล่นเกมด้วยตนเอง

4. ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดและตักเตือนก่อนหมดเวลา

5. ครูและเด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่น



สื่อ
- สนาม
- แผงจุดจำนวน
- ตัวเลข
- ขวดน้ำ
- แผ่นจุดจำนวน

ประเมิน


1 สังเกตเด็กสามารเคลื่อนไหวร่างกายโดยการวิ่งซิกแซ็กเพื่อให้ให้ไปถึงเป้าหมายที่ครูกำหนด

ได้
2 สังเกตเด็กสามารถใช้มือและตามสัมพันธ์กันในระหว่างการหยิบจับและการวางแผ่นโจทย์ของจุดจำนวนและแผ่นเฉลยบนแผงจุดจำนวน


3 สังเกตเด็กมีความสนุกและตื่นเต้นในการทำกิจกรรมได้


4 สังเกตเด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้


ปรับแผน

กิจกรรมที่ 2

สุดสนุกกับ 10 จำนวน
จำนวนผู้เล่น 20 คน

วิธีการเล่น


1. แบ่งผู้เล่นออกเป็น 4 กลุ่ม


2. ให้เด็กวิ่งกระโดดข้ามขวดน้ำโดยให้ครูแจกแผ่นจุดจำนวนแล้วให้เด็กนับจุดแล้วสอดแผ่นจุดจำนวนในแผงจุดจำนวนรวมกันให้เท่ากับ 10


3. โดยที่เด็กแข่งกับเพื่อนอีกกลุ่ม


4. กลุ่มไหนเสร็จก่อนกลุ่มนั้นเป็นฝ่ายชนะ


ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กได้ใช้ประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือและตาและรู้จักการเพิ่มจุดจำนวนให้เท่ากับ 10
ระยะเวลาที่ใช้ 30 นาที



กิจกรรมที่ 3

จำนวนที่ใกล้ตัว
วิธีการเล่น

1. แบ่งเด็กออกเป็น 4 กลุ่ม


2. เด็กวิ่งซิกแซ็กนำตัวเลขไปใส่ไว้ให้ตรงกับจำนวนของจุดเพื่อเพิ่มให้เท่ากับ 10


3. เด็กเล่นเกมด้วยตนเอง


4. ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด


5. ครูและเด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กได้ทักษะในการพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ในการวิ่งซิกแซ็ก

กิจกรรมที่ 4

คู่ขาหรรษานับตัวเลข


1. เด็กๆเลือกคู่ของตนภายในกลุ่ม


2. เด็กเอาเชือกหนังยางรัดเอวกับคู่ของตน


3. เด็กเคลื่อนไหวซิกแซ็กเป็นทางรถไฟด้วยกัน


4. เด็กๆใช้อวัยวะหยิบแผ่นจุจำนวน


5. วิ่งกลับมาในกลุ่ม โดยให้คู่ที่อยู่ในกลุ่มวิ่งซิกแซ็กแล้วใช้อวัยวะหยิบตัวติดกับแผงจุดจำนวนจากนั้นคู่ที่เหลือก็นำจุดไปเพิ่มให้เท่ากับ 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กได้ใช้อวัยวะและมีความสามัคคีกับเพื่อนพร้อมทั้งรู้จักจำนวนที่ต้องเพิ่มให้เท่ากับ 10
ระยะเวลา 30 น.




กิจกรรมที่ 5

พาฉันไปที


1. ครูกำหนดตัวเลขให้กับเด็กๆแต่ละคนในกลุ่ม

2. เด็กสังเกตตัวเลขที่เพื่อนได้

3. เด็กเลือกเพื่อนที่มีตัวเลขรวมกันเท่ากับ 10 มา รวมกันโดยที่ให้เพื่อนออกมายืนข้างหน้า

4.เด็กเวียนกันเล่นเกมจนครบทุกคน

5.ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด

6.ครูและเด็กช่วยกันเก็บ


ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กรู้จักตัวเลขและจำนวนที่ให้ได้ เท่ากับ 10 พร้อมเด็กได้สังเกตเพื่อนๆในกลุ่มว่ามีใครได้เลขอะไร

ระยะเวลาที่ใช้ 30 น.

คู่มือการสร้างสื่อ

วัสดุ/

อุปกรณ์


1. ลังกระดาษ 6 อันกว้าง 22 ซม. ยาว 69 ซม.
2. กาวลาเท็กซ์ 1 ขวด
3. กรรไกร
4. เทปใส
5. สติ๊กเกอร์สี
6. กระดาษเทาขาว 2 แผ่น
7. คัตเตอร์
8. สังกะสี ยาว 22 ซม.
9. แผ่นแม่เหล็ก 3 แผ่น
10. แผ่นใสถ่ายเอกสาร
11. เทปกาว
12. กาว 2 หน้า
13. กระดาษสีต่างๆ
14. ลังกระดาษที่ทำตัวเลข 3 ลัง
15. เทปใส 1 ม้วน
16. เชือกฝ้าย
17. ไม้บรรทัด 12 นิ้ว 1 อัน



วิธีทำแผงจุดจำนวน
1.ตัดลังกระดาษ กว้าง 22 ซม. ยาว 69 ซม. จำนวน 4 ชุด



2. นำสังกะสีมา ตัดเป็นแผ่นยาว 22 ซม.



3. นำสังกะสีมาติดลงในแผงจุดจำนวนตรงมุมที่วัดขึ้นอีก 22 ซม.



4. ตัดกระดาษสีให้เท่ากับลังกระดาษ กว้าง 22 ยาว 69 ซม.



5.ติดกระดาษสีลงบนลังกระดาษที่ตัด

6. วัดด้านกว้างข้างบนอีก10 ซม.

7. วัดช่องไฟห่างกันช่องละ 10 ซม. 6 ช่อง
10 ซม1 ซ

8.วัดจากเส้นที่วัดช่องไฟอีก 1 เซนจนครบ 6 ช่อง

9. วัดลังกระดาษ เป็นเส้นละ 1 เซม.

10.ตัดเส้นจากลังกระดาษที่วัดเส้นละ 1 ซม.

11. ติดเส้นลังกระดาษลงบนแผนลังกระดาษที่วัดให้ตรงกับเส้นที่วัดไว้

12. ติดเส้นลังกระดาษให้ครบทุกช่อง

13. นำแผ่นใสที่ถ่ายเอกสารมาติดทับช่องที่วัดไว้ให้ครบทุกช่อง

14.ซีนขอบลังแผ่นกระดาษด้วยเทปกาวสีต่าง

15. ทำแผ่นจุดจำนวน โดยวัดจุดให้เท่าๆกัน

16.โดยจะมีทั้งแผ่นที่เป็นแผ่นโจทย์และแผ่นเฉลยซึ่งสังเกตจากสีส่วนมาแผ่นโจทย์จะอยู่ในกรดาษเทาขาว

17มีอยู่แผ่นทั้งโจทย์และแผ่นเฉลยรวมกันทั้งหมดมี 72 แผ่น


กิจกรรมเสริมประสบการณ์





ภาพที่ 1 ครูสนทนาทักทายกับเด็ก










ที่มา : ห้องอนุบาล 2/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่: 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3 โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย



กิจกรรม
: ครูสนทนาทักทายเพื่อสร้างความคุ้นเคยกับเด็กพร้อมทั้งแนะนำกิจกรรมที่จะนำมาให้
เด็กๆได้ทำ

ครู : สวัสดีค่ะเด็กๆครูชื่อครูต้าร์นะค่ะวันนี้ครูก็ดีใจมากเลยที่ได้มาสอนเด็กๆในวันนี้
เด็กๆ: สวัสดีค่ะ

: วันนี้ครูก็มีกิจกรรมมาให้เด็กๆได้ทำกัน
: แต่ก่อนทำกิจกรรมเรามาร้องกันก่อนนะค่ะ






ภาพที่2 ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงนกกระจิบ






ที่มา : ห้องอนุบาล 2/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่: 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3
โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย

กิจกรรม :
ครู: วันนี้ครูก็มีเพลงที่จะนำมาให้เด็กๆได้ร้องกันไม่รู้ว่าเด็กๆเคยร้องเพลงนี้แล้วหรือยัง

: เด็กๆฟังครูร้องเพลงดูนะค่ะว่าเป็นเพลงอะไรถ้าเด็กๆร้องเด็กก็ร้องตามเลยนะค่ะ

: นั่นนกบินมาลิบๆ นกกระจิบ 12345 อีกฝูงบินล่องลอยมา 6 7 8 9 10 ตัว






ภาพที่ 3 เด็กๆชูนิ้วมือขึ้นมานับ






ที่มา : ห้องอนุบาล 2/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่: 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3
โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย


กิจกรรม
: ครูให้เด็กชูนิ้วมือขึ้นมานับจำนวนของนิ้ว 1 – 10
: เด็กๆค่ะในเพลงที่เราร้องมีนกอยู่กี่ตัวค่ะ

:ไหนเด็กๆลองชูนิ้วมือขึ้นมาสิค่ะแล้วนับดูว่านิ้วของเด็กเท่ากับจำนวนของนกที่อยู่ใน
เนื้อเพลงหรือเปล่า

: แล้วถ้านกบินออกไปจากฝูง 5 ตัวแล้วนกจะเหลือกี่ตัวค่ะ

: ถ้านกมีอยู่ในฝูง 7 ตัว เด็กๆลองคิดสิค่ะว่าจะต้องเพิ่มนกอีกกี่ตัวถึงครบ 10






ภพที่ 4 เด็กออกมาทำกิจกรรม เพิ่ม ลดภายใน 10








ที่มา : ห้องอนุบาล 2/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่: 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3
โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย



กิจกรรม

: ครูเลือกตัวแทนของเด็กๆออกมาทำกิจกรรม


: เด็กค่ะเด็กลองนับจุดจำนวนที่อยู่บนแผ่นนี้ดูสิค่ะว่ามีกี่จุด


: แล้วต้องเพิ่มอีกกี่จุดถึงจะครบ 10ค่ะ


: แผ่นที่เป็นสีขาว จะเป็นแผ่นโจทย์ที่มีจุดจำนวนแต่ไม่ครบ 10


: ส่วนแผ่นใสๆก็มีจุดจำนวนเหมือนกันและไม่ครบ 10 เหมือนกัน


: เด็กๆค่ะครูจะให้เด็กสอดแผ่นโจทย์ก่อนแล้วนับสิค่ะว่ามีกี่จุด


: เด็กๆช่วยกันนับ 12345678


: ส่วนแผ่นใสๆนั้นคือแผ่นที่เด็กจะนำมาเพิ่มจำนวนนั้นเอง


: ครูจะเลือกเด็กออกมหนึ่งคนนะค่ะ


: เด็กคนไหนที่ผมสั้นนั่งอยู่ขวามือของครู ออกมาลองทำกิจกรรมให้เพื่อนๆดูก่อนนะค่ะ


:จากนั้น ให้เด็กหยิบตัวเลขที่ตรงกับแผ่นโจทย์ของจุดจำนวนมาวางไว้แล้วนำตัวเลข

ของ แผ่น ทั้ง 2 มาให้ตรงกับจุดจำนวน












กิจกรรมกลางแจ้ง





ภาพที่ 1 ครูสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมที่เด็กจะได้ทำในวันนี้







ที่มา : สนาม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่: 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3
โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย



กิจกรรม

: ครูแบ่งเด็กออกเป็น 4 กลุ่ม ในการทำกิจกรรม


: โดยครูแจกแผ่นจุดจำนวนให้กับเด็กแล้วให้เด็กๆนับว่าของตนเองมีกี่จุด


: เด็กค่ะเด็กๆถือจุดจำนวนแล้วนับจุดว่าของตนเองมี่กี่จุด แล้วไปสอดให้ตรงกับตัวเลขที่
ครูกำหนดไว้ให้นะค่ะโดยที่เด็กๆแต่ละคนจะต้องวิ่งซิกแซ็กผ่านขวดน้ำ










ภาพที่ 2 เด็กปฏิบัติกิจกรรมโดยการสอดแผ่นจุดจำนวนให้ตรงกับตัวเลข


ที่มา : สนามโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่ : 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3 โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย



กิจกรรม:

เด็กลงมือ ทำกิจกรรม โดยนำจุดจำนวนมาสอดให้ตรงกับตัวเลขโดยเด็กๆแต่ละกลุ่ม
แข่งขันกันกันสนุกสนานโดยมีเพื่อนในกลุ่มมาเชียร์สนานอย่างสนุกสนาน





ภาพที่3 เด็กนำจุดจำนวนมาเพิ่มให้เท่ากับ 10

ที่มา : สนาม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่ : 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3
โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย


กิจกรรม

: เด็กนับจุดจำนวนแล้วนำจำนวนที่เหลือจากแผ่นโจทย์ที่สอดไปก่อนนั้นว่าเด็กจะต้องเพิ่ม
อีกกี่จำนวนถึงจะเป็น 10 โดยแผ่นเฉลยจะมีจุดสีเหลือง และถ้าถูกจุดจะไม่ซ้อนกัน







ภาพที่ 4 ครูและเด็กสรุปกิจกรรมที่ทำร่วมกันพร้อมทั้งสวัสดีเด็กๆหลังจากทำกิจกรรมเสร็จ



ที่มา : สนามโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่ : 25 กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 08.30 น.



ผู้ถ่ายภาพ: นางสาวปรียาภรณ์ กัณหา นักศึกษาชั้นปีที่ 3 โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย



กิจกรรม

: เด็กค่ะวันนี้เด็กๆเก่งกันทุกคนเลยแล้วเด็กทำกิจกรรมในวันนี้เด็กๆ ได้รู้จักจำนวนถึง
อะไรกันกันบ้างแล้วหรือยังค่ะ


: วันนี้ครูก็ขอบคุณเด็กๆที่มาร่วมกิจกรรมกับครูในวันนี้นะค่ะ ไว้โอกาสหน้าเรามาเจอกัน
ใหม่นะค่ะสวัสดีค่ะ